+
Go www.kriengsak.com ประวัติ ครอบครัว งานวิชาการ กิจกรรม Press Contact us ค้นหา
 
  ขอคิดอย่างสร้างสรรค์

     

หน้า 1 | 2 |  3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 |

หมวดเศรษฐกิจ
หมวดการเมืองไทย/ต่างประเทศ

หมวดสังคม

หมวดการศึกษา
 
 
WWW http://www.kriengsak.com
 

เงินสร้างรถไฟฟ้า ควรมาจากกองทุนน้ำมันหรือไม่?
Should the mass transit projects be financed by the Oil Fund
?

รกฎาคม 2550
การคาดการณ์พบว่า หลังจากเดือนมีนาคม 2551 กองทุนน้ำมันจะหมดภาระชำระหนี้จากการตรึงราคาขายปลีกน้ำมัน และหากรัฐบาลยังไม่ลดการเก็บเงินเข้ากองทุนหลังจากหมดภาระหนี้ดังกล่าวแล้ว จะทำให้มีรายได้เข้ามาในกองทุนถึง 40,000-50,000 ล้านบาทต่อปี ดังนั้นจึงทำให้กระทรวงพลังงานเกิดแนวคิดว่า น่าจะนำเงินจากกองทุนนี้มาใช้ในการก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้า...>>

 

วิเคราะห์มาตรการส่งเสริมอีโคคาร์
Eco-car policy analysis

รกฎาคม 2550
จากสภาวะเศรษฐกิจของประเทศที่ชะลอตัวลง เนื่องจากการบริโภคภาคประชาชนและการลงทุนชะลอตัวรัฐบาลจึงต้องแสวงหามาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจเพื่อแก้ไขปัญหา มาตรการหนึ่งที่มีการกล่าวถึง คือ โครงการผลิตรถยนต์ประหยัดพลังงานตามมาตรฐานสากล หรือ “อีโคคาร์” ซึ่งกระทรวงอุตสาหกรรมเชื่อว่าเป็นโครงการที่สามารถดึงดูดการลงทุนและยังเป็นการช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจอีกทางหนึ่ง...>>

 
MP Autonomy and Political Party Weakness
29 June 2007
When one looks at the substance of the new Constitutional draft, one cannot help but think that politicians who look set and ready to become Members of Parliament (MPs) after the upcoming general election must certainly be among those who support the draft. This is because several constitutional draft provisions reflect the intention to allow MPs, as people’s representatives, more autonomy and freedom in fulfilling their duties without having to toe the strict lines of their respective political parties. ... >>
 

การประกอบการเพื่อสังคม : ภาคส่วนที่ 4 ในการแก้ปัญหาสังคมไทย ?
Social Entrepreneurship:The ‘fourth’ dimension to solve Thailand’s social problems ?

28 มิถุนายน 2550
สังคมในยุคปัจจุบันประสบกับปัญหาทางเศรษฐกิจสังคมหลากหลายประการ ทั้งปัญหาในระดับบุคคล เช่น ปัญหาการว่างงาน ปัญหาหนี้สินครัวเรือน ปัญหาการกระทำทารุณเด็ก การแพร่ระบาดของยาเสพติด การเข้าไม่ถึงบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ หรือปัญหาในระดับสังคม เช่น ความยากจน การขาดการศึกษาระดับพื้นฐาน การเอารัดเอาเปรียบผู้บริโภคอย่างไม่เป็นธรรม ความขัดแย้งทางเชื้อชาติ...>>

 

คำถามท้าทายต่อร่างกฎหมายแปรรูปรัฐวิสาหกิจ
Challenges to the Draft of Privatization Law

26 มิถุนายน 2550
ร่างพระราชบัญญัติแปรรูปรัฐวิสาหกิจ พ.ศ.… ได้รับความคาดหวังว่า จะสร้างความเชื่อมั่นต่อกระบวนการแปรรูปฯ เพราะมีการกำหนดกติกาที่ปกป้องผลประโยชน์สาธารณะ คุ้มครองสิทธิผู้บริโภค และส่งเสริมการแข่งขันอย่างเป็นธรรมหลังการแปรรูปฯ กฎหมายนี้ยังกำหนดให้จัดทำรายงานการศึกษาความเป็นไปได้และผลกระทบจากการแปรรูปฯ รวมถึงรับฟังความคิดเห็นและเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะ ตลอดจนระบุถึงกระบวนการกระจายหุ้น เพื่อทำให้กระบวนการแปรรูปฯ มีความชัดเจนและโปร่งใสมากขึ้น...>>

 

เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ
The Purpose of the Constitution

22  มิถุนายน 2550
ขณะที่กำลังร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่อยู่นั้น ผมมีข้อเสนอหนึ่งที่อยากให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญทำควบคู่กับไปด้วยคือ การจัดทำ “หนังสือเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญในแต่ละหมวด แต่ละมาตรา”  เหตุใดถึงควรจัดทำหนังสือเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ...>>

 

อีโคคาร์ ช่วยประเทศประหยัดพลังงานจริงหรือ?
Can ECO Cars help the country save energy ?

21  มิถุนายน 2550
จากสภาวะเศรษฐกิจของประเทศที่ชะลอตัวลง เนื่องจากการบริโภคภาคประชาชนและการลงทุนชะลอตัวลง รัฐบาลจึงต้องแสวงหามาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจมาเพื่อแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ มาตรการหนึ่งที่มีการกล่าวถึง คือ โครงการผลิตรถยนต์ประหยัดพลังงานตามมาตรฐานสากล หรือ “อีโคคาร์” ซึ่งกระทรวงอุตสาหกรรมเชื่อว่า เป็นโครงการที่สามารถดึงการลงทุนเข้ามาได้ และยังเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจในอีกทางหนึ่ง มาตรการนี้จึงกำลังจะถูกนำเข้าสู่ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเพื่อหาข้อสรุปในวันที่ 5มิถุนายนนี้ ...>>

 
Thai Politics In the Wake of the Constitutional Tribunal’s Verdicts
21 June 2007
Thailand’s political history records another major event when the nine-member Constitutional Tribunal took more than ten hours reading out the verdicts of the charges filed by the attorney-general to dissolve five political parties; namely, Democrat Party, Progressive Democratic Party, ... >>
 

ไม่ต้องเสียเวลาตีความ ถ้ามีหนังสือนิยามศัพท์รัฐธรรมนูญ
Definition Booklet for Constitution

20 มิถุนายน 2550
ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับรับฟังความคิดเห็น ที่ได้ตีพิมพ์ออกมาให้ประชาชนศึกษากัน ก่อนที่จะถึงเวลาลงประชามติเพื่อรับร่างฯนั้น ปรากฏว่ามีคำเฉพาะที่อาจตีความได้มากกว่าหนึ่งอย่าง ภาษาหรือข้อความบางประโยคยังคลุมเครือ และยากต่อความเข้าใจของประชาชนทั่วไปได้ ...>>

 

ภาษีทรัพย์สิน ควรจัดเก็บอย่างไร ?
(How to collect property tax ?)

13 มิถุนายน 2550
รัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ เตรียมนำร่างพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ....เข้าสู่วาระการพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หลักการสำคัญของร่างกฎหมายนี้ คือ การจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง โดยคำนวณภาษีบนฐานความมั่งคั่งจากมูลค่าของที่ดินและสิ่งปลูกสร้างบนที่ดินนั้น แทนการคำนวณภาษีบนฐานรายได้ที่เกิดจากทรัพย์สิน รวมทั้งกระจายอำนาจการจัดเก็บภาษีแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีรายได้ในการบริหารและพัฒนาชุมชน เพื่อช่วยลดความเหลื่อมล้ำระหว่างคนรวยกับคนจน...>>

 

การเมืองไทยหลังคำวินิจฉัยของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ
Thai Politics In the Wake of the Constitutional Tribunal’s Verdicts

12 มิถุนายน 2550
ถือเป็นคดีประวัติศาสตร์ของการเมืองไทย เมื่อคณะตุลาการรัฐธรรมนูญทั้ง 9 คน ใช้เวลาอ่านคำวินิจฉัยนับ 10 ชั่วโมง ที่อัยการสูงสุดยื่นคำร้องขอให้ยุบพรรคการเมือง 5 พรรคได้แก่ พรรคประชาธิปัตย์ พรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า พรรคไทยรักไทย พรรคพัฒนาชาติไทย พรรคแผ่นดินไทย ซึ่งเป็นคดีที่พรรคไทยรักไทยถูกกล่าวหาว่าจ้างพรรคเล็กลงสมัครเพื่อหลีกเลี่ยงกฎ 20 % หากเขตเลือกตั้งมีผู้สมัครเพียงพรรคเดียว ขณะที่พรรคประชาธิปัตย์ถูกตั้งข้อหาใส่ร้ายพรรคไทยรักไทยและขัดขวางการเลือกตั้ง. ...>>

 

รับ หรือ ล้ม ร่างรัฐธรรมนูญ ควรดูที่ “ผู้ร่าง” หรือ “เนื้อหา”?
To accept or reject the draft Constitution : Do we look at its drafters or its essence?

6 มิถุนายน 2550
เมื่อวันที่ 23 พ.ค. 50 เครือข่ายนักวิชาการทั่วประเทศ ประกาศแถลงการณ์ “ไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับทำลายการปฏิรูปการเมือง” โดยให้เหตุผลว่า ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่เกิดขึ้นภายใต้อำนาจเผด็จการหลังรัฐประหาร จะทำให้สังคมไทยหันกลับไปสู่การเมืองยุคเก่า และทำให้การปฏิรูปการเมืองโดยผ่านกระบวนการร่วมกันของสังคมไทยต้องยุติลงอย่างสิ้นเชิง จึงเรียกร้องให้นำเอารัฐธรรมนูญ ปี 2540 กลับมาใช้ใหม่ และให้มีการเลือกตั้งหลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญภายใน 60 วัน จากนั้นให้รัฐสภาที่มาจากการเลือกตั้งจัดให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ โดยการเลือกตั้ง ส... ...>>

 

นิรโทษกรรมทางการเงิน....ระวัง !!! จะปล่อยเสือเข้าป่า
Finance Amnesty: Let Tigers Go the Thick Forest

5 มิถุนายน 2550
ข้อเสนอประการหนึ่งในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ คือการลบชื่อลูกหนี้ที่มีหนี้เสียไม่เกิน 20,000 บาท ออกจากบัญชีดำของเครดิตบูโร เพื่อให้ลูกหนี้ที่ได้รับการนิรโทษกรรมเหล่านี้สามารถกู้เงินจากสถาบันการเงินได้ จากเดิมที่ไม่สามารถทำได้เพราะติดบัญชีดำ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดการใช้จ่ายในระบบเศรษฐกิจ..>>

 

เวลาที่เหลือของรัฐบาล
The remaining time for this government

4 มิถุนายน 2550
เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม ที่ผ่านมา นายกรัฐมนตรีได้แถลงผลงานของรัฐบาลในรอบ 6 เดือนที่ผ่านมา กระแสตอบรับคงเป็นที่ทราบดีว่า ได้รับคำวิพากษ์วิจารณ์มากกว่าคำชม แม้ว่าจะมีเสียงชื่นชมและยอมรับในความเป็นคนดีและซื่อสัตย์ของนายกรัฐมนตรี แต่การทำงานที่เชื่องช้า ขาดรูปธรรมในการแก้ปัญหา และละเลยการแก้ปัญหาสำคัญในหลายเรื่องย่อมสร้างความไม่พอใจให้เกิดขึ้นได้...>>

 

พัฒนาความร่วมมือ ไทย-ออสเตรเลีย
Fostering Thai-Australian Cooperation

29 พฤษภาคม 2550
ในโอกาสที่สมาคมไทยออสเตรเลียนในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ครบรอบ 50 ปี จึงมีโครงการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ ผู้ทรงเป็นองค์ราชูปถัมภก โดยจัดทำหนังสือพระราชประวัติ และไดอารีที่ระลึกในโอกาสที่สมาคมครบรอบ 50 ปี ขึ้น  พร้อมกับจัดทำคู่มือสมาชิกฉบับครบรอบ 50 ปีขึ้น ผมในฐานะนายกสมาคมกิตติมศักดิ์ จึงขอถือโอกาสนี้กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างไทยและออสเตรเลีย ที่มีมาอย่างยาวนาน และแนวทางการสานสัมพันธ์ในอนาคต ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศร่วมกัน...>>

 

อุปสรรคการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
Obstracles forming ASEAN Economic Community

28 พฤษภาคม 2550
การประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ (AEM retreat) ระหว่าง 3-4 พฤษภาคม2550 ที่ผ่านมา ณ กรุงบันดาเสรี เบกาวัน ประเทศบรูไน ที่ประชุมมีมติเห็นชอบแผนการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC blueprint) โดยจะมีการเปิดตลาดในภูมิภาคอาเซียน เพื่อมุ่งสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC : ASEAN Economic Community) ภายในปี พ.ศ.2553-2558...>>

 

ปฎิรูปประกันสังคม...ขยายประกันภาคบังคับ
Reform Social Welfare beyond the Compulsory Level

25 พฤษภาคม 2550
ขอบเขตการคุ้มครองของระบบประกันสังคมในประเทศไทยครอบคลุมเฉพาะด้านการประกันสุขภาพ ประกันชราภาพ และการประกันด้านการทำงาน ระบบประกันสังคมของบ้านเรายังอยู่ในระดับเริ่มต้นเท่านั้นเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้ว รวมทั้งยังไม่ครอบคลุมแรงงานนอกระบบ ทรัพยากรทางการเงินมีไม่เพียงพอ บริการมีคุณภาพต่ำ และระบบขาดประสิทธิภาพ ทั้งนี้สาเหตุสำคัญที่ทำให้ระบบประกันสังคมของไทยมีปัญหาข้างต้น เกิดจากปัญหาด้านการจัดเก็บรายได้ การระดมทรัพยากรทางการเงิน การกระจายความเสี่ยง และการใช้หรือจัดสรรทรัพยากรทางการเงินของระบบประกันสังคม...>>

 

เหตุใดแรงงานนอกระบบจึงมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น
Why informal labours tend to increase?

24 พฤษภาคม 2550
สมัชชาแรงงานนอกระบบและตัวแทนแรงงานนอกระบบ ได้ออกมาเรียกร้องขอมีสิทธิประกันสังคมเหมือนกับแรงงานในระบบ เหตุการณ์นี้ทำให้กระแสการปฏิรูประบบประกันสังคมถูกจุดขึ้นมาอีกครั้ง พร้อมทั้งทำให้กลุ่มผู้ใช้แรงงานนอกระบบต่างรอคอยว่ารัฐบาลและสำนักงานประกันสังคมจะทำอย่างไร ที่จะช่วยให้พวกตนสามารถเข้าสู่ระบบประกันสังคมและมีหลักประกันในชีวิต...>>

 

การปกป้องทรัพย์สินทางปัญญาควรอยู่ในระดับใด?
What level of protection should Intellectual Property Have?

22 พฤษภาคม 2550
การบังคับใช้สิทธิในการผลิตหรือนำเข้ายาที่ติดสิทธิบัตร (Compulsory license หรือ CL) ของไทยในยาต่อต้านไวรัสเอดส์ (เอฟฟาไวเรนซ์และคาเลตตรา) และยาป้องกันความรุนแรงของโรคเส้นเลือดอุดตันในหัวใจ (พลาวิกซ์) ต่อบริษัทผลิตยาของสหรัฐอเมริกา ทำให้เกิดข้อโต้แย้ง ซึ่งยังหาข้อยุติไม่ได้ในขณะนี้...>>

 

ปัญหาของระบบประกันสังคมในประเทศไทย
Problems  in Thailand’s  Social Welfare System

15 พฤษภาคม 2550
ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2550 เห็นชอบข้อเสนอให้มีการจัดทำแผนสวัสดิการลูกจ้าง โดยนำเงินจากกองทุนประกันสังคมประมาณ 4 หมื่นล้านบาท มาใช้ในการจัดสวัสดิการเงินกู้ให้ผู้ประกันตน เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจระดับรากแก้ว นอกจากนี้ที่ประชุมยังเห็นชอบให้มีการศึกษาแนวทางเชื่อมโยงกับการจัดตั้งธนาคารลูกจ้าง เพื่อใช้เป็นกลไกในการปล่อยกู้ให้แก่ผู้ใช้แรงงาน...>>

 
There should be ‘principles’ in constitutional drafting
11 May 2007
“Thinking together, building together, joining together in drafting the constitution” is the slogan urging the public to take part in drafting the new constitution—a commendable effort by the Constitution Drafting Committee (CDC) to promote public participation. While certainly praiseworthy, this constitution would not be the best one possible if its deliberations are not conducted on the basis of good ‘principles’.   >>
 

ประกันสังคม – ยิ่งประกัน ยิ่งเสี่ยง?
Social Insurance : More guarantee, higher risk

10 พฤษภาคม 2550
จากข่าวคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบหลักการเกี่ยวกับนโยบายด้านสังคม จำนวน 28 ประเด็น ประเด็นหนึ่งคือ แนวคิดการจัดทำแผนสวัสดิการลูกจ้าง โดยให้มีคณะกรรมการจัดทำแผนสวัสดิการลูกจ้าง ดำเนินการศึกษาจัดทำรายละเอียดการดึงเงินจากกองทุนประกันสังคมมาใช้ในการจัดสวัสดิการเงินกู้ให้ผู้ประกันตน ซึ่งจะมีผลต่อการกระตุ้นเศรษฐกิจฐานล่างในระยะสั้น อีกทั้งเพื่อการตั้ง “ธนาคารลูกจ้าง” ต่อไปในอนาคต อันจะทำให้เกิดผลดีต่อลูกจ้างผู้ประกันตน 16 ล้านคน...>>

 

Global Warming กับ ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
Global Warming and Impact on Economy

9 พฤษภาคม 2550
ปัญหาโลกร้อนเริ่มส่งผลกระทบต่อมนุษยชาติอย่างชัดเจนมากขึ้น ขณะที่ทั่วโลกต่างพยายามหาหนทางแก้ไข โดยสภาพอากาศที่ร้อนจัดของประเทศไทยในช่วงเวลานี้คือผลกระทบที่คนไทยสามารถรับรู้และสัมผัสได้อย่างชัดเจน ทั้งนี้ในรอบ 100 ปีที่ผ่านมา (..2443-2543) อุณหภูมิของโลกได้เพิ่มขึ้น 1 องศาและคาดว่าในช่วง 100 ปีข้างหน้าความร้อนบนผิวโลกจะเพิ่มขึ้นอีก 3.0-4.0 องศา...>>

 

ตุลาการกับการแก้ไขปัญหาวิกฤตของชาติ
The judiciary and national crisis resolution

8 พฤษภาคม 2550
ข้อเรียกร้องให้ “อำนาจตุลาการ” หรือ “ตุลาการภิวัตน์” เข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาวิกฤตของบ้านเมือง นอกเหนือไปจากอำนาจหน้าที่ในการพิพากษาคดีต่าง ๆ ปรากฏอยู่ในร่างรัฐธรรมนูญ มาตรา 68 วรรคสอง  “ในกรณีที่ประเทศตกอยู่ในภาวะวิกฤต เหตุการณ์คับขัน หรือเกิดสถานการณ์จำเป็นอย่างยิ่งในทางการเมือง ให้มีการประชุมร่วมกันระหว่างนายกรัฐมนตรี ประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลฎีกา ประธานศาลปกครองสูงสุด และประธานองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ เพื่อพิจารณาหาทางป้องกันหรือแก้ไขปัญหาดังกล่าว”  ...>>

 

แป๊ะเจี๊ยะ ควร จัดการ   หรือให้ จัดเก็บ
School bribe money  : To control or collect it?

7 พฤษภาคม 2550
เงินแป๊ะเจี๊ยะกับโรงเรียนดัง นับเป็นประเด็นร้อนต้อนรับเปิดเทอมแทบทุกปี  ในปีนี้ กระทรวงศึกษาธิการได้มอบนโยบายการรับนักเรียนปีการศึกษา 2550 ให้แก่ผู้รับผิดชอบเพื่อดูแลการรับนักเรียนเข้าศึกษา ให้ปลอดเด็กฝาก เด็กเส้น และการเรียกเก็บแป๊ะเจี๊ยะ แต่ความจริงอีกด้านหนึ่งที่ทำให้การแก้ไขเป็นไปด้วยความยากลำบาก นั่นคือ การเรียกเงินแป๊ะเจี๊ยะเป็นปัญหาที่ฝังรากลึกมายาวนานในสังคมไทย ผู้ปกครองที่ต้องการให้บุตรหลานของตนเข้าโรงเรียนที่มีชื่อเสียง เพื่ออนาคตที่ดีกว่า ย่อมเต็มใจและยินดีจ่ายเงินให้กับโรงเรียน ในรูปแบบที่นิยมกัน..การบริจาค ...>>

 

นโยบายความปลอดภัยแห่งชาติ
National Security Policy

6 พฤษภาคม 2550
แม้สงกรานต์ปีนี้จะมีจำนวนผู้เสียชีวิตลดลงกว่าปีที่ผ่านมา แต่ภาครัฐยังคงต้องหาแนวทางและมาตรการลดความสูญเสียให้ได้มากที่สุด เนื่องจาก ปัญหาความไม่ปลอดภัยยังคงเกิดขึ้นบ่อยครั้ง นอกเหนือจากอุบัติเหตุจากรถยนต์สาธารณะ หรือภัยที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์แล้วยังมีภัยธรรมชาติ เช่น น้ำท่วม, น้ำป่า, แผ่นดินไหว เป็นต้น แต่ว่าการแก้ไขปัญหาที่ผ่านมายังคงขาดความต่อเนื่อง แก้เฉพาะจุดที่เกิดปัญหา ขาดการดูภาพรวมทั้งหมด รวมทั้งขาดระบบป้องกันเหตุร้ายที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต  ...>>

 

ทางเลือกการสร้างเงินออมจากสลากกินแบ่งรัฐบาล
Building One’s Savings from Lotteries ?

5 พฤษภาคม 2550
กระแสข่าวที่รัฐบาลไฟเขียวให้กระทรวงการคลังออกสลากกินแบ่งรัฐบาลหรือล็อตเตอรี่ 2 ตัว และ 3 ตัว เพื่อแก้ไขปัญหาหวยใต้ดินซึ่งเป็นการพนันที่ผิดกฎหมาย ทำให้เกิดการถกเถียงแสดงความคิดเห็นกันอย่างมาก ทั้งกลุ่มที่เห็นด้วยและกลุ่มที่คัดค้านการกระทำดังกล่าว  ...>>

 

แอดมิชชันใหม่ อย่ามองเพียงผลการเรียน
New Admission Should not be Considered Only on Scores

4 พฤษภาคม 2550
จากการที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย(ทปอ.) มีมติให้ปรับเปลี่ยนองค์ประกอบการรับนิสิตนักศึกษาในระบบกลางหรือแอดมิชชันประจำปีการศึกษา 2553 โดยยกเลิกการใช้คะแนนแบบทดสอบทางการศึกษาขั้นสูง หรือ ANET และผลการเรียนเฉลี่ยรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือ GPA และหันมาใช้องค์ประกอบ 3 ส่วน ได้แก่ ผลการเรียนเฉลี่ยสะสมในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ GPAX  คะแนนทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ  หรือ ONET และผลการทดสอบวัดความถนัด (Aptitude Test) โดยให้เหตุผลในการเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ครั้งนี้ว่า เกณฑ์การคิดคะแนนแบบเดิมมีความซ้ำซ้อน อยากให้ผู้เรียนสนใจการเรียนในวิชาอื่น ...>>

 

ควรกำหนดนโยบายราคาข้าวอย่างไร
A rice price policy should be Set

3 พฤษภาคม 2550
คณะกรรมการประเมินการดำเนินงานตามโครงการจำนำข้าวเปลือก ที่แต่งตั้งโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ได้เสนอให้ใช้ตลาดซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าแทนระบบรับจำนำข้าว ภายในระยะเวลา 2-5 ปี ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสมาคมผู้ส่งข้าวออกต่างประเทศและผู้เกี่ยวข้องจำนวนมาก ...>>

 

ข้อพึงระวังของมาตรการเก็บภาษีบาปเต็มเพดาน
Cautions of collecting highest sin tax

30  เมษายน 2550
นายแพทย์มงคล ณ สงขลา ร.ม.ต.กระทรวงสาธารณสุข ได้เผยถึงความคืบหน้าเกี่ยวกับการมาตรการควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ว่า ได้ขอความร่วมมือไปยัง ร.ม.ต.กระทรวงการคลังให้พิจารณาขึ้นภาษีเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ยังไม่ได้ขึ้นเต็มเพดานภาษี ตามมติของคณะกรรมการควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แห่งชาติ เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2549 ที่ผ่านมา ...>>

 
How to Attract Foreign Direct Investment
27 April 2007
The 1997 constitution is a charter that can be referred to as the ‘people’s constitution’ due to the unprecedented level of public participation at every drafting stage. This version also contains a rather complete and comprehensive set of provisions on people’s rights and freedom in many different aspects. >>
 

กองทุนเวลา : ตัวอย่างโครงการประกอบการเพื่อสังคม
(
Time Bank: The example project for Social Entrepreneur)

23  เมษายน 2550
หลังจากที่ผมได้แบ่งปันแนวคิด “ผู้ประกอบการเพื่อสังคม” ผ่านทางบทความในหนังสือพิมพ์ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-letter) และยังเผยแพร่ใน www.bloge/oknation.net/kriengsak ได้มีผู้ที่สนใจแนวคิดนี้จำนวนไม่น้อย ซึ่งส่วนหนึ่งได้แสดงความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์กลับมายังผมด้วย ...>>

ควรเปิดอิสระให้ผู้สมัคร ส.ส. ไม่ต้องสังกัดพรรคหรือไม่
Should we free our parliamentary candidates from the need to belong to a party

22  เมษายน 2550
ถึงแม้ว่า รัฐธรรมนูญฉบับ 2540 พยายามที่จะเปิดโอกาสให้ ส.ส. ที่สังกัดพรรคมีอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ โดยเฉพาะการไม่ต้องปฏิบัติตามมติหรือข้อบังคับของพรรคหากขัดหรือแย้งกับหลักการพื้นฐานแห่งการปกครองในระบอบประชาธิปไตยโดยมีสิทธิร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยได้(มาตรา 47)   แต่ในความเป็นจริงทางการเมือง หาก ส.ส. ท่านใดฝ่าฝืนมติของพรรค ย่อมถูกตรวจสอบในด้านพฤติกรรมว่าปฏิบัติตามระเบียบวินัยของพรรคหรือไม่ และโอกาสที่พรรคจะไม่ส่งลงสมัครในการเลือกตั้งสมัยหน้าก็มีสูงยิ่งขึ้น ซึ่งทำให้ ส.ส. เกิดความกลัวและปฏิบัติหน้าที่ราวกับหุ่นยนต์ที่ต้องปฏิบัติตามคำสั่ง ...>>

 

ปรับโครงสร้างภาษี...ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ที่ดิน
Promote Land Utilization by Land Tax Reform

21  เมษายน 2550
เมื่อเร็ว ๆ นี้ ศาลมีคำพิพากษาเพิกถอนการครอบครองกรรมสิทธ์ที่ดินของมูลนิธิวัดสวนแก้วที่ซื้อจาก นางวันทนา สุขสำเริง ผู้ครอบครองที่ดินปรปักษ์ โดยให้กลับไปเป็นกรรมสิทธิ์ของ นางทองอยู่ หิรัญประดิษฐ์ เจ้าของเดิม หลังจากทายาทเจ้าของกรรมสิทธิ์ในที่ดินเดิมได้คัดค้านต่อศาลว่า ผู้ครอบครองปรปักษ์ที่ดินแปลงดังกล่าวไม่ถูกต้อง เหตุการณ์นี้ทำให้ คำว่า “ผู้ครอบครองที่ดินปรปักษ์” เริ่มเป็นที่คุ้นหู  ...>>

 

ข้อควรระวังในการกระตุ้นภาคอสังหาริมทรัพย์
Cautions of real estate stimulated measures

20  เมษายน 2550
ตัวแทนเอกชนภาคอสังหาริมทรัพย์ ประกอบด้วย สมาคมธุรกิจบ้านจัดสรร สมาคมอาคารชุดไทย และสมาคมอสังหาริมทรัพย์ไทย ได้เสนอแนวทางเพื่อฟื้นฟูธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ สรุปเป็นมาตรการ 3 ข้อหลัก คือ ...>>

 

ควรกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างไรจึงเกิดประสิทธิผล
How to Stimulate the Economy Effectively

17  เมษายน 2550
รัฐบาลกำลังเตรียมออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ เพื่อฟื้นความเชื่อมั่นของผู้บริโภคและนักลงทุนที่ขาดความมั่นใจในภาวะเศรษฐกิจ โดยใช้มาตรการด้านการคลังกระตุ้นเศรษฐกิจพร้อมกับมาตรการด้านการเงินเพื่อทำให้การบริหารเศรษฐกิจเป็นไปในทิศทางเดียวกัน และป้องกันไม่ให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) ในปี 2550 เติบโตต่ำกว่าร้อยละ  ...>>

 

เรียนฟรี 12 ปี ความฝัน หรือ ความจริง?
Twelve years of free Study : A dream or a reality?

16  เมษายน 2550
ในประเด็นของการระบุในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ให้สิทธิประชาชนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานฟรี 12 ปีโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย เช่นเดียวกับที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ 2540 โดยมองว่า เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน และเป็นหน้าที่ของรัฐต้องจัดสรรงบประมาณด้านการศึกษาให้ประชาชน   ...>>

 

ควรให้ประชาชนร่วมร่างรัฐธรรมนูญ อย่างมี “หลัก”
Let the people paticipate in the drafting of the Constitution

15  เมษายน 2550
ร่วมคิด ร่วมสร้าง ร่วมร่างรัฐธรรมนูญ” คำขวัญเชิญชวนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่นี้ นับเป็นความพยายามที่ดีของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญในการให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการร่าง การดำเนินการเช่นนี้ แม้ว่าเป็นสิ่งที่ดี แต่ทว่า จะไม่เป็นการดีที่สุด หากรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ไม่ได้พิจารณาอย่างมี “หลักการ”...>>

 
How to Attract Foreign Direct Investment
12 April 2007
International competition to attract foreign direct investment (FDI) has increasingly intensified, particularly after China joined the World Trade Organization (WTO). The overall picture of investment is that FDI flows into Asia more than to other developing countries in other regions, with the highest proportion of money flowing into China compared to other developing economies. ...>>
 

ควรดึงดูดเงินลงทุนโดยตรงต่างประเทศอย่างไร
What we should do to attract foreign direct investment

11  เมษายน 2550
การแข่งขันในการดึงดูดการลงทุนของประเทศต่าง ๆ ได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นเป็นลำดับ  โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หลังจากประเทศจีนเข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลก (WTO) ภาพรวมการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) ไหลเข้าสู่เอเชียมากกว่าประเทศกำลังพัฒนาในภูมิภาคอื่น   ...>>

 

มองสงครามแย่งมวลชน 3 จังหวัดชายแดนใต้แบบเศรษฐศาสตร์
Economic Viewpoint  of the Life-Taking War in Thailand’s South

8  เมษายน 2550
การแก้ไขสถานการณ์ภาคใต้ของรัฐบาล ดูเหมือนจะไม่สามารถยุติความรุนแรงลงได้ในเวลาอันใกล้ ฝ่ายคนร้ายที่ก่อเหตุในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้พยายามสร้างความหวาดกลัวให้กับประชาชนในพื้นที่อย่างหนักหน่วง รุนแรง ต่อเนื่อง  และมีแนวโน้มว่าสถานการณ์จะลุกลามไปยังจังหวัดใกล้เคียง เพื่อผลักดันให้ประชาชนที่ทนไม่ได้กับสถานการณ์ที่รุนแรงจำเป็นต้องออกจากพื้นที่ หรือทำให้ประชาชนที่ต้องการอยู่ในพื้นที่ต่อไปกลายเป็นพวกเดียวกับฝ่ายคนร้ายไม่ว่าจะโดยสมัครใจ หรือโดยความกลัวก็ตาม...>>

 

ลบ “ข้อจำกัด” เพื่อสิทธิประชาชน
Eliminate Limits to the People’s Rights

7  เมษายน 2550
การร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่นี้ สิ่งสำคัญประการหนึ่งที่ควรพิจารณา ได้แก่ การบังคับใช้กฎหมาย ที่ผ่านมาถือว่าเป็นข้อจำกัดหนึ่งที่เกิดขึ้นในรัฐธรรมนูญฉบับปี 2540 แม้ว่ารัฐธรรมนูญฉบับนี้จะเป็นรัฐธรรมนูญที่มีการบัญญัติในเรื่องสิทธิของประชาชน แต่บทบัญญัติในหลายมาตรากลับไม่สามารถบังคับได้จริง ...>>

 

ทบทวนการตรวจสอบร่างกฎหมายก่อนประกาศใช้จริง
Check the Constitution before It Is Announced

6  เมษายน 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ..2540 มาตรา  262  ระบุว่า หาก ส.. .. เห็นว่าร่างกฎหมายใดมีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ จะต้องเสนอความเห็นต่อประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานวุฒิสภา หรือประธานรัฐสภา  แล้วแต่กรณี  และประธานฯ จึงส่งคำร้องขอนั้นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยชี้ขาดต่อไป ก่อนที่นายกรัฐมนตรีจะนำร่างกฎหมายนั้นขึ้นทูลเกล้าเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยและประกาศใช้เป็นกฎหมาย ...>>

 
Solving R&D Problems through Demand-Side Management
6 April 2007
The Ministry of Industry and the Ministry of Science and Technology are working on a master plan to strengthen the intellectual infrastructure and support sufficiency economy, as well as to increase Thailand’s competitiveness in a sustainable manner. ...>>
 

เงินสนับสนุนพรรคฯ : สร้างพรรคการเมืองของประชาชน
Political Parties Should Be Funded by Donations

5  เมษายน 2550
สิ่งที่อยู่ในใจของหลายคนในการเลือกผู้แทน คือ เราต้องการให้คนดีและคนที่มีความรู้ความสามารถได้รับการเลือกตั้งเข้าสู่สภา แต่ขณะเดียวกัน เราคงมีคำถามว่า “จะดึงดูดคนดีและเก่งเข้ามาทำหน้าที่ตัวแทนประชาชนให้มากขึ้นอย่างไร” เพราะประสบการณ์ที่ผ่านมา แม้เราจะมีรัฐธรรมนูญฉบับที่ประชาชนมีส่วนร่วมมากที่สุด และสะท้อนอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชนได้มากกว่าฉบับอื่น ๆ แต่ปรากฏว่ายังไม่สามารถสกัดกั้นนักการเมืองที่ไม่เหมาะสมเข้ามาบริหารประเทศได้  ...>>

 

เวลาสังกัดพรรค กับ จัดการเลือกตั้ง...ต้องสอดคล้อง
The Time to Belong to a Political Party Should Correspond with the Date of the Election

4  เมษายน 2550
ประเด็นการเป็นสมาชิกพรรคการเมืองไม่น้อยกว่า 90 วันก่อนวันรับสมัครรับเลือกตั้ง นับเป็นอีกประเด็นหนึ่งที่อยู่ในความสนใจแก้ไขรัฐธรรมนูญ เนื่องจากที่ผ่านมา การกำหนดกติกาดังกล่าว กลับส่งผลให้ผู้นำพรรคการเมืองบางพรรคใช้เงื่อนไขนี้เป็นอำนาจต่อรองกับ ส..ภายในพรรค ให้ต้องทำตามมติและความเห็นของพรรคทุกอย่าง โดยไม่ให้ ส..คนใดออกนอกแถว และขณะเดียวกัน หาก ส..จะย้ายพรรคก่อนมีการเลือกตั้ง ส..จะต้องรับความเสี่ยงจากการที่รัฐบาลอาจยุบสภา เพราะกฎหมายระบุว่า  ...>>

 

ปรับโครงสร้างภาษีนิติบุคคลเพื่อส่งเสริมการลงทุนในชนบทไทย
Adjusting the Juristic Entity Tax to promote Investment in Rural Areas of Thailand

3 เมษายน 2550
รัฐบาลไทยประกาศขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประชาชนอยู่ดีมีสุข โดยมีจุดประสงค์เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่ประชาชน ยุทธศาสตร์ดังกล่าวดำเนินการพร้อมกับ โครงการพัฒนาหมู่บ้านตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีการจัดสรรงบประมาณกว่า 1 หมื่นล้านบาทลงพื้นที่ทั่วประเทศ เพื่อทำให้เกิดผลสัมฤทธิ์ระยะยาว ส่งเสริมให้ชุมชนมีความเข้มแข็งและพึ่งพาตัวเองได้ ผ่านการขับเคลื่อนเศรษฐกิจระดับรากแก้วเพื่อกระตุ้นการใช้จ่ายภายในประเทศ ...>>

 

วิถีแห่งความสัตย์จริง
The way of truth

1 เมษายน 2550
เมื่อคราวที่แล้ว ผมได้สื่อสารแนวคิดของ สตีเฟ่น คาร์เตอร์ เขาย้ำให้เห็นว่า ถึงเวลาแล้วที่จะต้องสร้างอาวุธทางการเมืองให้กับประชาชน ด้วยรื้อฟื้น “ความสัตย์จริง” ให้เป็นลักษณะชีวิตพื้นฐาน เขาชี้ให้เห็นว่า การดำเนินการทางการเมืองในอเมริกาทั้งของฝ่ายเสรีนิยม (เดโมแครต) และอนุรักษ์นิยม (รีพับลิกัน) กำลังเล่นเกมกับประชาชน ...>>

 

ความสัตย์จริงทางออกการเมืองไทย
The truth : The way out for Thai politics

31 ีนาคม 2550
ในวันนี้ เมื่อมองอนาคตประชาธิปไตยไทย ผมคิดว่า แม้เราจะสามารถแก้ไขระบบให้ดี แก้รัฐธรรมนูญที่มั่นใจได้ว่าเป็นของประชาชนมากที่สุด แต่หากบุคคลที่สำคัญที่สุด 2 กลุ่ม อันได้แก่ ประชาชน และนักการเมือง ขาดความสำนึกในคุณค่าของอุดมการณ์ประชาธิปไตย ไม่สนใจที่จะดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตยแล้ว อนาคตประชาธิปไตยคงเป็นเหมือนต้นไม้ที่ไร้รากแก้ว ย่อมไม่สามารถต้านทานลมพายุที่พัดผ่านมาได้ ...>>

 
The Cap on Short-Term Capital Flow—From the Fire to the Frying Pan?
30 March 2007
The rapid appreciation of the Baht currency has made difficult the Bank of Thailand (BoT)’s conduct of currency exchange rate policy. The situation is not different from being placed between hell and high waters—as the absence of control on capital inflow will result in excessive appreciation of the Baht with serious impacts on exports, while the use of control on shot-term capital flow will affect investment with equal severity. ...>>
 

กรุงเทพเมืองแฟชั่น: ฝันที่ไม่มีวันไปถึงดวงดาว
Bangkok City of Fashion: The fallacious dream

29 ีนาคม 2550
นายปิยะบุตร ชลวิจารณ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม เปิดเผยว่า ในการจัดทำงบประมาณประจำปี 2551 ได้ข้อสรุปชัดเจนแล้วว่า จะไม่ดำเนินการโครงการ “กรุงเทพฯเมืองแฟชั่น” ต่อไป เนื่องจากได้พิจารณาแล้วเห็นว่า การดำเนินโครงการดังกล่าวไม่คุ้มกับงบประมาณที่จ่ายไป แม้ว่าทางจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจะยังไม่ส่งผลการประเมินโครงการนี้มาให้รัฐบาล ซึ่งเป็นตอนสุดท้ายก่อนตัดสินใจว่าจะยกเลิกโครงการนี้หรือไม่ ...>>

 

ส.ส. 1 ใน 4 ยื่นอภิปรายนายกฯ ได้
Engaging in debate with the Prime Minister : One fouth of all MPs should have their way

25 ีนาคม 2550
บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ พ.. 2540 ได้จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญขึ้นในรูปแบบองค์กรศาล เพื่อทำหน้าที่แทนคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ โดยตรวจสอบ5กฎหมายที่รัฐสภาออกมาว่าขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ รวมถึงเพื่อพัฒนาความเป็นตุลาการที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะสำหรับ และเป็นอิสระจากองค์กรทางการเมือง ...>>

 

ผู้ประกอบการเพื่อสังคม: ความหวังใหม่ในการพัฒนาสังคมไทย
Social Entrepreneur: New Hope for Thai Social Development

24 ีนาคม 2550
แนวคิดการสร้าง “ผู้ประกอบการเพื่อสังคม” หรือ Social Entrepreneur อาจฟังไม่คุ้นหูคนไทย แต่ในหลายประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่น สหรัฐอเมริกา เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นมาระยะหนึ่งและเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวาง ...>>

 
INTERNATIONALIZATION
23 March 2007
Following the seminar on internationalization, organized by the Department of Export Promotion and attended by over 400 companies, the Ministry of Commerce started to encourage Thai entrepreneurs to invest overseas. This came after it was found that Thai exports have been lagging behind those of our trade rivals, and corresponded with the proposal of the Bank of Thailand suggesting that entrepreneurs relocate their production bases overseas to increase competitiveness and as measure against the long-term impacts of the strong Baht currency. ....>>
 

ทำไมนายกรัฐมนตรีควรมาจากการเลือกตั้ง
The Important of Elections to Select the Prime Ministrer

23 ีนาคม 2550
ประเด็นสำคัญและถูกจับตามองมากที่สุดในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับ ๒๕๕๐ คงหนีไม่พ้นประเด็นที่มาของนายกรัฐมนตรี ซึ่งเป็นประเด็นที่มีความอ่อนไหว เพราะมีความหวั่นเกรงว่าจะมีการสืบทอดอำนาจทางการเมือง ทั้งของฝ่ายทหารที่ทำการรัฐประหารและขั้วอำนาจเก่า ผ่านการเปิดช่องให้นายกมาจากคนนอกได้ หรือการไม่ระบุที่มาของนายกฯ ไว้เลย ...>>

 

ความสำคัญในการดำรงอยู่ของศาลรัฐธรรมนูญ
(The Essential of Remaining Constitution Court)

22 ีนาคม 2550
บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ พ.. 2540 ได้จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญขึ้นในรูปแบบองค์กรศาล เพื่อทำหน้าที่แทนคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ โดยตรวจสอบกฎหมายที่รัฐสภาออกมาว่าขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ รวมถึงเพื่อพัฒนาความเป็นตุลาการที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะสำหรับ และเป็นอิสระจากองค์กรทางการเมือง ...>>