|
หน้า
1
|
2
| |
|
หมวดเศรษฐกิจ
หมวดการเมืองไทย/ต่างประเทศ
หมวดสังคม
หมวดการศึกษา |
|
แป๊ะเจี๊ยะ ควร จัดการ
หรือให้ จัดเก็บ
School bribe money : To
control or collect it?
7
พฤษภาคม
2550
เงินแป๊ะเจี๊ยะกับโรงเรียนดัง
นับเป็นประเด็นร้อนต้อนรับเปิดเทอมแทบทุกปี
ในปีนี้
กระทรวงศึกษาธิการได้มอบนโยบายการรับนักเรียนปีการศึกษา
2550
ให้แก่ผู้รับผิดชอบเพื่อดูแลการรับนักเรียนเข้าศึกษา
ให้ปลอดเด็กฝาก เด็กเส้น
และการเรียกเก็บแป๊ะเจี๊ยะ
แต่ความจริงอีกด้านหนึ่งที่ทำให้การแก้ไขเป็นไปด้วยความยากลำบาก
นั่นคือ
การเรียกเงินแป๊ะเจี๊ยะเป็นปัญหาที่ฝังรากลึกมายาวนานในสังคมไทย
ผู้ปกครองที่ต้องการให้บุตรหลานของตนเข้าโรงเรียนที่มีชื่อเสียง
เพื่ออนาคตที่ดีกว่า
ย่อมเต็มใจและยินดีจ่ายเงินให้กับโรงเรียน
ในรูปแบบที่นิยมกัน..การบริจาค
...>> |
|
แอดมิชชันใหม่
อย่ามองเพียงผลการเรียน
New Admission
Should not be
Considered Only on
Scores
4
พฤษภาคม
2550
จากการที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย(ทปอ.)
มีมติให้ปรับเปลี่ยนองค์ประกอบการรับนิสิตนักศึกษาในระบบกลางหรือแอดมิชชันประจำปีการศึกษา
2553
โดยยกเลิกการใช้คะแนนแบบทดสอบทางการศึกษาขั้นสูง
หรือ ANET
และผลการเรียนเฉลี่ยรายกลุ่มสาระการเรียนรู้
หรือ GPA
และหันมาใช้องค์ประกอบ 3
ส่วน ได้แก่
ผลการเรียนเฉลี่ยสะสมในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
หรือ GPAX
คะแนนทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
หรือ ONET
และผลการทดสอบวัดความถนัด
(Aptitude Test)
โดยให้เหตุผลในการเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ครั้งนี้ว่า
เกณฑ์การคิดคะแนนแบบเดิมมีความซ้ำซ้อน
อยากให้ผู้เรียนสนใจการเรียนในวิชาอื่น
...>> |
|
ฮาร์วาร์ด:
แบบอย่างการระดมทุนแก่
ม.ไทย
Harvard.A Model for fund
Rasing for Thai
Universities
5
มีนาคม
2550
ความคับข้องใจเกี่ยวกับการนำมหาวิทยาลันออกนอกระบบ
ยังคงเป็นประเด็นที่คุกกรุ่นอยู่ในความรู้สึกของหลายคน
โดยล่าสุดข่าวการอดข้าวประท้วงของนักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา
และมหาวิทยาลัยรามคำแหง
ที่เริ่มมาตั้งแต่วันที่
19 กุมภาพันธ์
และการออกมาแสดงความคิดเห็นของประธานที่ประชุมประธานสภาอาจารย์แห่งประเทศไทย
(ปอมท.)
กรรมการสิทธิมนุษยชน
เพื่อขอให้มีการชะลอการพิจารณาร่าง
พ.ร.บ.
ดังกล่าวนั้นออกไป
เป็นเครื่องบ่งชี้ว่า
สังคมยังคงมีความกังวลใจในหลายประเด็นเกี่ยวกับร่างกฎหมายฉบับนี้
...>> |
|
University
autonomy: Reducing
hindrances and building
assurances
25 December 2006
As
you probably know, the Thai
government is in the process
of transforming universities
from public sector
institutions into autonomous
entities. However, the Thai
university community is
keenly dissatisfied with
this policy because no
guarantees have been given
to students, parents,
society, or even the
university community.
Everyone is wondering what
will happen when
universities become
autonomous. Therefore, the
government needs to clarify
its position and take the
opportunity to establish
clear policy that will act
as a compass, guiding Thai
higher education into the
future.
...>> |
|
ทุนการศึกษา
สร้างหลักประกันให้ผู้เรียนยากจนสู่การอุดมศึกษา
Scholarships
guarantee access to
higher education for
poor students
20
ธันวาคม 2549
กระแสความไม่พอใจของประชาคมมหาวิทยาลัยต่อนโยบายของรัฐในการนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบ
สาเหตุหนึ่งเนื่องจาก
ที่ผ่านมายังไม่มีหลักประกันที่สร้างความมั่นใจแก่ผู้เรียนผู้ปกครอง
สังคม
รวมถึงประชาคมมหาวิทยาลัย
ประเด็นเหล่านี้
รัฐจำเป็นต้องชัดเจน
เพราะจะเป็นตัวชี้ทิศทางอุดมศึกษาไทยในอนาคต...>> |
|
ลดแรงเสียดทาน
สร้างหลักประกัน
ม.นอกระบบ
Reduce
hindrances
and
build
assurances
for
university
autonomy
18
ธันวาคม 2549
กระแสความไม่พอใจของประชาคมมหาวิทยาลัยต่อนโยบายของรัฐในการนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบ
สาเหตุหนึ่งเนื่องจาก
ที่ผ่านมายังไม่มีหลักประกันที่สร้างความมั่นใจแก่ผู้เรียนผู้ปกครอง
สังคม
รวมถึงประชาคมมหาวิทยาลัย
ประเด็นเหล่านี้
รัฐจำเป็นต้องชัดเจน
เพราะจะเป็นตัวชี้ทิศทางอุดมศึกษาไทยในอนาคต...>> |
|
Reforming Thailands
Educational Funding System
21
November 2006
During the
past 5 years, the Office
of Standard Certification
and Quality Evaluation has
evaluated the quality of
basic education in 30,010
schools in its first round
of evaluations between
2001 and 2005. These
evaluations have found
that one-third of Thai
schools have lower than
normal standards. That is,
the students in these
schools have below average
educational achievements,
their creativity is less
than other students, and
their enthusiasm to learn
is low....>> |
|
ปฏิรูประบบอุดหนุน
กศ.
Reform
the
educational
subsidy.
15
พฤศจิกายน 2549
ในรอบ
5
ปีที่ผ่านมา
สำนักรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(สมศ.)
ได้ประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(รอบแรก
พ.ศ.
2544-2548)
จำนวน
30,010
โรง
ผลการประเมินพบว่า
มีโรงเรียนจำนวน
1
ใน
3
อยู่ในมาตรฐานขั้นต่ำ
และจำนวน
2
ใน
3
มีคุณภาพต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำกว่ามาตรฐาน
ความคิดสร้างสรรค์
และการใฝ่รู้ต่ำ...>> |
|
เก็บแป๊ะเจี๊ยะอย่างไร
เข้าข่ายเหมาะ
How to
collect
an
educational
extra-fee
13
พฤศจิกายน 2549
การกำหนดแนวทางรับนักเรียนใหม่ปีการศึกษา
2550
กระทรวงศึกษาธิการได้ชูประเด็นเรื่อง
ค่าแป๊ะเจี๊ยะ
ของโรงเรียนรัฐบาล
เพื่อหาแนวทางป้องกันและกำจัดระบบดังกล่าว
ทั้งนี้โรงเรียนส่วนใหญ่เห็นด้วยที่จะให้มีการยกเลิกค่าแป๊ะเจี๊ยะไปหมด
ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการจะทำการสรุปจากความคิดเห็นของโรงเรียนต่าง
ๆ
...>> |
|
วอนสังคมร่วมมือสร้างเยาวชนรุ่นใหม่
Ask for cooperation to
produce new generation
of youth
18
ตุลาคม 2549
สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว
ได้นำความเจริญ
ความทันสมัย ความบันเทิง
และความสบาย
มาสู่คนในสังคม
เด็กและเยาวชน
ที่เกิดมาในช่วงความเจริญของสังคม
จึงมีแนวโน้มจะติดภาพของความสบาย
และไม่กระตือรือร้นที่จะแสวงหาเป้าหมายของชีวิต
ประกอบกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ไม่ว่าจะเป็น
อินเทอร์เน็ต
โทรศัพท์มือถือ สื่อมวลชน
ที่ส่วนใหญ่ตอบสนองความต้องการด้านบันเทิง
แฟชั่น สินค้าราคาแพง ฯลฯ
...>> |
|
1
ปี
วางกลไกขับเคลื่อนปฏิรูปการศึกษาไทย
One
year for Driving the
Mechanism of Thailands
Education Reform
12
ตุลาคม 2549
ความคาดหวังของสังคมที่มีต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการคนใหม่
ในการเข้ามาแก้ไขปัญหาการศึกษาหลายประเด็น
เช่น
การเพิ่มเงินอุดหนุนรายหัวในแต่ละระดับให้เพียงพอกับค่าใช้จ่ายสำหรับจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ
กองทุนเพื่อช่วยเหลือเด็กยากจนและด้อยโอกาส
ปัญหาขาดแคลนครู
การปรับปรุงระบบบุคลากร
การถ่ายโอนสถานศึกษาให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ...>> |
|
ปรับโครงสร้าง
สกอ.อย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
Restructure Higher
Education Commission
5
ตุลาคม 2549
ประเด็นที่อยู่ในความสนใจของผู้เกี่ยวข้องในแวดวงการศึกษาคือ
การเสนอให้แยกสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
(สกอ.)
ออกจากกระทรวงศึกษาธิการ
ที่อดีตเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
เสนอต่อคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
เมื่อวันที่ 25 กันยายน
ที่ผ่านมา
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการบริหารจัดการอุดมศึกษา
และให้องค์กรใหม่เน้นบทบาทหน้าที่ด้านการวิจัยมากขึ้น
...>> |
|
กฎหมายผังเมือง
:
จำกัดหรือส่งเสริมค้าปลีกข้ามชาติ
(City
plan law:
limit or
encourage
multinational
modern
trade)
1
ตุลาคม 2549
ปี 2545
เป็นปีเริ่มต้นแห่งการต่อต้านร้านค้าปลีกสมัยใหม่
(modern
trade)
โดยเฉพาะห้างค้าปลีกขนาดใหญ่
(Hyper-market)
หรือในนามยักษ์ใหญ่ค้าปลีก-ค้าส่งข้ามชาติในประเทศไทย
ทุนท้องถิ่นเกือบทั่วประเทศออกมารณรงค์ต่อต้านอย่างหนัก
ในที่สุดรัฐบาลชุดที่ผ่านมาได้นำพระราชบัญญัติผังเมืองเข้ามาควบคุมห้างค้าปลีกขนาดใหญ่เหล่านี้
แต่ไม่เป็นผล
...>> |
|
ทบทวนเกณฑ์ชี้วัดจัดอันดับ
ม. ไทย
Revise the University
Ranking Index of Thai
Universities
8
กันยายน
2549
โครงการ
Ranking 2006
ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
(สกอ.)
ที่มีการเปิดเผยเมื่อวันที่
31
ส.ค.ที่ผ่านมา
ได้รับเสียงวิพากษ์วิจารณ์จากหลายฝ่าย
ทั้งในส่วนที่เห็นด้วยกับการจัดอันดับที่จะทำให้มหาวิทยาลัยแต่ละแห่งพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
แต่อีกฝ่ายไม่ยอมรับและได้ออกมาทักท้วงการจัดอันดับดังกล่าว
ทั้งในแง่ตัวชี้วัดที่เลือกใช้
ความครบถ้วนและความน่าเชื่อถือของการกรอกข้อมูลที่ทำโดยแต่ละมหาวิทยาลัย
ตลอดจนประโยชน์ที่จะได้รับและการนำไปใช้ได้จริงของข้อมูล...
>> |
|
การศึกษาพื้นฐาน โคม่า
ชี้ชัดนโยบายเหลว
Basic Education Coma
Points Clearly to Policy
Failure
30
สิงหาคม 2549
เมื่อวันที่
28
สิงหาคม
ที่ผ่านมาผมได้เห็นข่าวที่ท่าน
ศ.ดร.สมหวัง
พิธิยานุวัฒน์
ผู้อำนวยการสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.)ประกาศผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
โดยระบุว่าจากสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ประเมิน
30,010
แห่ง
ปรากฏว่าประมาณ
2
ใน
3
หรือมากกว่า
20,000
แห่ง
มีแนวโน้มไม่ได้มาตรฐานขั้นต่ำ
โดยเข้าขั้นอาการหนักถึงกว่า
15,000
แห่ง
ผู้เรียนส่วนใหญ่มีผลสัมฤทธิ์ตามหลักสูตรต่ำ
ด้อยความคิดสร้างสรรค์และขาดนิสัยการใฝ่รู้ใฝ่เรียน
รวมทั้งมีปัญหาการขาดแคลนครูทั้งปริมาณและคุณภาพ ...
>> |
|
ความจริงอีกด้านของโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งทุน
Hidden details: Another
perspective of the Amper
One Fund
24
สิงหาคม 2549
ความสำเร็จของโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งทุนการศึกษา
ที่รักษาการนายกฯ
ได้กล่าวในรายการนายกฯ
คุยกับประชาชนเมื่อวันที่
19
สิงหาคม
เป็นการบอกความจริงเพียงด้านเดียว
สิ่งที่ซ่อนไว้คือ
จุดอ่อนของโครงการที่รัฐบาลไม่ยอมเหลียวแล
หรือนำมาปรับปรุงเพื่อประโยชน์สูงสุด...
>> |
|
อย่าเพิ่มจำนวนคนจนด้วยการศึกษา
Don't allow the
education system to
increase the number of
poor
19
สิงหาคม 2549
เมื่อวันที่
7
สิงหาคมที่ผ่านมา
คุณปณิธาน ยามวินิจ
ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผน
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
(สภาพัฒน์)
ได้กล่าวในที่ประชุมเชิงปฏิบัติการของสำนักงานสภาการศึกษา
กระทรวงศึกษาฯ ว่า
ในอีก
5
ปีข้างหน้า นับตั้งแต่ปี
2549
จะมีการผลิตกำลังคนระดับปริญญาตรี
ปวส.
ปวช.
ออกมาทั้งหมด 2.3
ล้านคน
แต่อุตสาหกรรมหลัก
13 สาขา
ต้องการแค่
300,000
คน ที่เหลืออีก 2
ล้านคน
เป็นแรงงานเกินความต้องการ
ต้องไปหางานอย่างอื่นที่ต่ำกว่าวุฒิการศึกษา
...
>> |
|
การศึกษาเพื่อช่วยคนจน
หรือทำให้คนยิ่งจนปัญญา
Education for the poor:
Causes of the poor
mindset
18
สิงหาคม 2549
ความพยายามในการแก้ไขปัญหาความยากจนของรักษาการนายกฯ
ในส่วนของการศึกษา
โดยการออกโครงการเพื่อช่วยเหลือนักเรียนที่พ่อแม่มีฐานะยากจน
ด้วยการนำเงินจากกองสลากมาใช้
ไม่ว่าจะเป็น
ทุนเรียงความ หนึ่งอำเภอ
หนึ่งทุนการศึกษา
เป็นเสมือนโครงการที่หวังดี
แต่หากโครงการนี้ดำเนินต่อไป
ผลร้ายจะตามมา
...
>> |
|
วอนรัฐเร่งหาทางออกบัณฑิตล้นตลาด
A call
for Thailands
government
19 กรกฎาคม 2549
ผลการสำรวจของ
กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา(กยศ.)
พบว่า
สาเหตุของเด็กที่กู้ยืมเงินจาก
กยศ.แล้วยังไม่มาชำระหนี้ซึ่งมีประมาณร้อยละ
30
และยังไม่มีงานทำว่า
มีสาเหตุสำคัญ
4
ประการคือ
1.เรียนสาขาที่ไม่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานของประเทศ
2.เรียนสาขาที่มีมากกว่าความต้องการ
3.เด็กที่จบ
ม.6
แล้วไม่ได้เรียนต่อมีครอบครัว
ไม่ได้ทำงานที่ดี
หรือว่างงาน
4.เด็กเรียนจบ
ปวช.แล้วไม่ได้ทำงาน
...
>> |
|
บทเรียนจากการพัฒนาการศึกษาเวียดนาม
Lessons from the
Development of Education
in Vietnam
6 กรกฎาคม 2549
แนวคิดเรื่องการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืนเริ่มได้รับการยอมรับและกล่าวถึงมากขึ้นในหลายประเทศทั่วโลก
รวมทั้งประเทศไทย
แนวคิดนี้ได้เน้นให้คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา
โดยพยายามผลักดันให้มีการพัฒนาคุณภาพของคนผ่านทางการศึกษา
>> |
|
แก้ไข-ป้องกันการใช้ความรุนแรงของผู้เรียน
The Need
to
Correct
and
Protect
When
Putting
Student
Violence
to Good
Use
2 กรกฎาคม 2549
ปัญหาความรุนแรงของเด็กและเยาวชนในกลุ่มผู้เรียนดูเหมือนมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น
โดยส่วนใหญ่เป็นลักษณะการทะเลาะวิวาทและการยกพวกตีกัน
กรณีล่าสุดที่เผยแพร่ทางสื่อคือ
คลิปวีดีโอการรุมทำร้ายเพื่อนนักเรียนของเด็กชั้นมัธยมศึกษา
และอาชีวศึกษาทั้งในกรุงเทพและต่างจังหวัด
ซึ่งสถานการณ์ดังกล่าวสอดคล้องกับการสำรวจ
วัยรุ่นไทยกับการใช้ความรุนแรง
ที่สำนักวิจัยเอเบคโพลร่วมกับกรมสุขภาพจิตพบว่า
วัยรุ่นไทยมีแนวโน้มใช้ความรุนแรงมากขึ้น
>> |
|
วอนรัฐบาลอย่าพาการศึกษาดิ่งลงเหว
Dont jeopardize
education
28 มิถุนายน 2549
การถ่ายโอนอำนาจการศึกษาสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(อปท.)
กลับสู่ความสนใจของสังคมอีกครั้ง
เมื่อคณะรัฐมนตรีรักษาการได้มีมติให้มีการถ่ายโอนได้ในบางส่วน
ขณะที่หลายส่วนให้มีการทบทวนกันใหม่การดำเนินการถ่ายโอนโรงเรียนแก่
อปท.
สะท้อนแนวคิดในการดำเนินงานของรัฐบาลดังนี้
>> |
|
ถ่ายโอนการศึกษาต้องมีมาตรฐาน
We must to standardize
the transfer of
educational authority
27 มิถุนายน 2549
จากมติคณะรัฐมนตรี
8
พฤศจิกายน 2548
ระบุว่า
การถ่ายโอนบุคลากรด้านการศึกษาให้อยู่บนพื้นฐานความสมัครใจ
เมื่อวันที่ 5
มิถุนายน
ที่ผ่านมา
คณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(กกถ.)
ได้สรุปผลประชุมเรื่อง
การถ่ายโอนสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่อยู่ในบัญชี
2 (คือ
รร.ที่สมัครใจโอนไปสังกัด
อปท.
หลังจากที่ ครม.มีมติให้เพิ่มคำว่าสมัครใจ)
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(อปท.)
จำนวน
292
แห่ง
>> |
|
บรรจุกิจกรรมรับน้องในหลักสูตรการศึกษา
The Reception of
Students to the Academy
13 มิถุนายน 2549
การจัดกิจกรรมรับน้องใหม่ของนิสิตนักศึกษาจากแต่ละสถาบันอุดมศึกษาเป็นข่าวเกรียวกราว
สะท้อนปัญหาและสถานการณ์ที่น่าเป็นห่วงให้เห็นเป็นประจำทุกปี
ถึงกระนั้นยังมีข้อถกเถียงแยกออกเป็นสองฝ่ายอยู่เสมอ
คือฝ่ายหนึ่งเห็นด้วยว่ากิจกรรมรับน้องยังมีข้อดีหลายประการ
และควรธำรงรักษาไว้ต่อไป
ในขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งไม่เห็นว่ากิจกรรมรับน้องที่จัดกันอยู่จะให้ประโยชน์แก่ผู้ที่เพิ่งเอ็นทรานซ์เข้าไปเรียนในระดับอุดมศึกษา
>> |
|
ความจริงใจของรัฐบาลต่อการกระจายอำนาจให้
อปท.
The sincerity of
government
decentralization to the
province
12 มิถุนายน 2549
จากข่าวความเคลื่อนไหวของรัฐบาลในเรื่องการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(อปท.)
ภายหลังจากการประชุมคณะรัฐมนตรี
วันที่ 30
พฤษภาคม
2549
ได้มีมติเห็นชอบจัดสรรรายได้ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในปีงบประมาณ
2550
ในสัดส่วนร้อยละ
35
หรือคิดเป็นเงิน
516,600
ล้านบาท
ตามสัดส่วนที่ระบุไว้ในพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่
อปท.
พ.ศ.
2542
โดยจะไม่มีการแก้ไขในเรื่องการจัดสรรงบประมาณเพียงแต่จะโอนเรื่องไปให้กับรัฐบาลชุดใหม่ดำเนินการ
>> |
|
กรอ.
การซ้ำรอยของการดำเนินงานอย่างไม่รอบคอบ
ICL, a repletition of
careless project
implementation
28
พฤษภาคม 2549
กระทรวงการคลังได้แก้ปัญหากองทุนให้กู้ยืมที่ผูกผันกับรายได้ในอนาคต
(กรอ.) หรือ
ICL
กรณีที่วงเงินที่ได้รับการอนุมัติไม่เพียงพอต่อความต้องการกู้ยืมของประชาชน
โดยจะหาทางออกให้ กรอ.ไปกู้เงินจากธนาคารออมสินมาเป็นการชั่วคราว
เพื่อมาปล่อยกู้ให้กับนักเรียนในโครงการพิเศษก่อน
และจะตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปีมาใช้คืนในปีต่อไป
ซึ่งจากการประเมินพบว่า
กรอ.อาจต้องกู้เพิ่มอีกไม่ต่ำกว่า
2 พันล้านบาท
>> |
|
บัณฑิตล้นตลาดแรงงาน
Graduates, in market
oversupply
22 พฤษภาคม 2549
แม้ว่าขณะนี้การประกาศผลแอดมิชชั่นยังคงมีข้อร้องเรียนเกี่ยวกับคะแนนที่ผิดพลาดอยู่
โดยล่าสุดมีปัญหาเรื่องความซ้ำซ้อนของรายชื่อเด็กที่ที่ผ่านการคัดเลือกของกลุ่มสถาบันผลิตแพทย์ศาสตร์แห่งประเทศไทยกับผลแอดมิชชั่นซึ่งไม่ควรมีความซ้ำซ้อนกัน
แต่สิ่งที่ผมมองไกลไปกว่าปัญหาของระบบสอบคัดเลือกแบบใหม่ที่เกิดจากความเร่งรีบของรัฐบาลนั้นคือ
การที่รัฐบาลเร่งให้คนเข้าสู่การอุดมศึกษาโดยไม่ได้วางแผนด้านกำลังแรงงาน
เช่น
ให้มหาวิทยาลัยกำหนดจำนวนรับนักศึกษาตามความต้องการของมหาวิทยาลัย
ทั้งที่ผ่านมาเราพบว่าปัญหาแรงงานระดับอุดมศึกษาล้นตลาดและทำงานต่ำกว่าวุฒิการศึกษาเริ่มปรากฎชัดมากขึ้น
>> |
|
มิติที่ถูกละเลย
ในระบบแอดมิชชั่น
Neglected Dimensions of
the University
Admissions System
9 พฤษภาคม 2549
การสอบคัดเลือกเข้าเรียนต่อระดับมหาวิทยาลัยภายใต้ระบบแอดมิชชั่นที่กำลังเป็นปัญหาใหญ่อยู่ในขณะนี้
เป็นเรื่องที่รัฐบาลไทยรักไทยและผู้เกี่ยวข้องจะต้องออกมาแสดงความรับผิดชอบอย่างไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้
เนื่องจากปัญหาต่าง ๆ
ที่เกิดขึ้นล้วนแล้วแต่เป็นผลอันเกิดจากการบริหารนโยบายด้านการศึกษาที่ผิดพลาดของรัฐบาล
ดังที่ผมได้กล่าวไว้ในจดหมายฉบับก่อนหน้านี้
>> |
|
ปัญหาแอดมิชชั่น
กระจกสะท้อนความบกพร่องของรัฐบาล
(Problems
in Admission System : A
Defection of The
Governments Deficiency)
7
พฤษภาคม 2549
จากปัญหาแอดมิชชั่นเป็นกระแสที่ก่อเกิดความปั่นป่วนแก่เยาวชนและสังคมไทยมากในขณะนี้
มีปัญหามาตั้งแต่การก่อร่างแนวคิดนี้ในประเทศไทย
ไม่ว่าจะเป็น
การปรับเปลี่ยนระบบนี้
เป็นการคิดกันแต่ระดับผู้บริหาร
ไม่ฟังความคิดคนอื่น
ไม่มีการทำวิจัย
ไม่มีการรับฟังความคิดเห็น
ก่อนนำไปใช้จริง
ทั้งที่มีคนหลายกลุ่มเสนอให้ทำวิจัย
ประชาพิจารณา
>> |
|
ทำอย่างไรเยาวชนไทยเข้าใจประชาธิปไตย
(How
to help Thai youth
understand democracy)
20 มีนาคม 2549
หากพิจารณาสถานการณ์การเมืองในขณะนี้พบว่า
รัฐบาลพยายามในการแย่งชิงพื้นที่ทางความคิดของประชาชน
โดยอ้างว่าการเลือกตั้งเป็นกติกาประชาธิปไตย
แต่ข้ออ้างดังกล่าวถูกเพียงเสี้ยวเดียวเท่านั้น
เพราะละเลยความจริงอีกด้านของความเป็นประชาธิปไตยที่แท้จริง
นั่นคือ
กระบวนการที่ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วม
มีสิทธิในการแสดงความคิดเห็น
และสามารถแสดงออกถึงจุดยืนทางการเมืองของตนได้ตลอดเวลา
รวมถึงการบรรลุถึงสภาวะของความเท่าเทียม
เป็นธรรมของคนในสังคม
โดยอาศัย
>> |
|
พัฒนาการอุดมศึกษาให้รองรับ
E-learning
10
มกราคม 2549
จากกระแสตอบรับการขยายตัวของระบบการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
หรือ e-learning
ของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ
มีเพิ่มมากขึ้น
เพื่อเพิ่มโอกาสและความสะดวกให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้มากขึ้น
ปัจจุบันมีมหาวิทยาลัยหลายแห่งพยายามจัดหลักสูตร
e-learning เอง
หรือสร้างเครือข่ายร่วมมือกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศหรือกับหน่วยงานอื่น |
|
รัฐบาลเกาะกระแสครูประท้วง
เตะถ่วงกระจายอำนาจ
2 ธันวาคม
2548
ชี้พฤติกรรมรัฐบาลที่รับปากทุกฝ่ายอย่างขัดแย้งกันในแนวทาง
เป็นการเตะถ่วงปัญหาและซื้อเวลาเพียงให้รอดตัวเฉพาะหน้า
ชี้พฤติกรรมของรัฐบาลไม่ได้สะท้อนว่าไม่เห็นความสำคัญของการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น... |
|
รัฐบาลเตรียมออกกฎหมายรวมศูนย์อำนาจและแทรกแซงและปิดกั้นเสรีภาพทางวิชาการ
18
พฤศจิกายน
2548
ผมได้อภิปรายในวาระที่
1
การรับหลักการของ ร่าง พ.ร.บ.สถิติ
พ.ศ.
.
เมื่อวันพุธที่
16
พฤศจิกายน ที่ผ่านมา
จากการพิจารณาร่างกฎหมายของรัฐบาลหลาย
ๆ ฉบับที่ผ่านมา
ผมได้พบว่า
ภายใต้หลักการและเหตุผลอันสวยหรูของร่างกฎหมายแต่ละฉบับ
รัฐบาลมีวาระแอบแฝงมาโดยตลอด
จึงอดสงสัยไม่ได้ว่า
รัฐบาลมีแรงจูงใจอย่างไร
ในการเสนอกฎหมายฉบับนี้
|
|
เรียนรู้ประสบการณ์
การกระจายอำนาจการศึกษาของต่างประเทศ
16
พฤศจิกายน
2548
การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นและการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
เป็นหลักการส่วนหนึ่งของแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
แต่ถึงกระนั้นที่ผ่านมา
การดำเนินการของรัฐในการกระจายอำนาจทางการศึกษาสู่ท้องถิ่น
อยู่ภายใต้ความเห็นที่ขัดแย้งหลายด้าน
ทั้งความเห็นจากผู้ที่มีส่วนร่วมในกระบวนการกระจายอำนาจการจัดการศึกษา
ผู้รับมอบอำนาจในท้องถิ่น
ผู้ได้รับผลกระทบ
และผู้ที่มีสิทธิจัดการศึกษา |
|
วิสัยทัศน์การอาชีวศึกษา
(Vocational education
vision)
1
พฤศจิกายน
2548
เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม
2548
ทางสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
ได้เปิดงาน
ผู้ประกอบการประสานอาชีวะ
:
พลังขับเคลื่อนกำลังคนของประเทศ
ณ อิมแพคเมืองทองธานี
โดยมีวัตถุประสงค์ในการปฏิรูปการเรียนการสอนอาชีวศึกษา
โดยเน้นให้นักเรียนฝึกปฏิบัติจริงมากกว่าเรียนในห้องเรียนอย่างเดียว
และสอดคล้องกับความต้องการของผู้ประกอบการ... |
|
การสร้างจุดเด่นให้มหาวิทยาลัยในยุคของการแข่งขัน
25
ตุลาคม 2548
ในวันพรุ่งนี้ อังคาร 26
ตุลาคม
ซึ่งเป็นวันประชุมสภาผู้แทนราษฎร
ชุดที่ 22 ปีที่ 1
ครั้งที่ 20
(สมัยสามัญนิติบัญญัติ)
มีเรื่องที่น่าสนใจที่ผมอยากสื่อสารให้มิตรสหายทราบเรื่องหนึ่งคือ
การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
พ.ศ.
.
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว
โดยที่ผมได้สงวนความคิดเห็นในฐานะกรรมาธิการเสียงข้างน้อย
|
|
วอนรัฐอย่ามองสถิติและงานวิจัยอย่างแยกส่วน
23
ตุลาคม 2548
การที่ทางฝ่ายรัฐบาลระบุว่า
พ.ร.บ.นี้ไม่ได้เป็นการควบคุมการวิจัย
เนื่องจากร่างกฎหมายฉบับนี้ไม่ได้นำงานวิจัยเข้ามาเกี่ยวข้อง
และมีชื่อชัดเจนว่า
พ.ร.บ.สถิติ
หมายถึงจะดูแลเพียงสถิตินั้น
ผมมองว่า
เป็นการตีความตามตัวอักษร
ซึ่งจริงเพียงครึ่งเดียว
แต่ยังขาดการพิจารณาหลักความเป็นจริงเกี่ยวกับความเชื่อมโยงของสถิติและการวิจัย
|
|
จี้ร่าง พ.ร.บ.สถิติ
เปิดประตูเสรีภาพทางวิชาการ
19
ตุลาคม 2548
ร่าง พ.ร.บ.สถิติแห่งชาติ
พ.ศ.
.
ควรให้เสรีภาพทางวิชาการแก่หน่วยงานจัดสรรงบวิจัยและมหาวิทยาลัยทุกแห่ง
โดยรัฐต้องยกเว้น
ไม่ต้องแจ้งสำนักงานสถิติฯเมื่อจะเก็บข้อมูล |
|