Go www.kriengsak.com ประวัติ ครอบครัว งานวิชาการ กิจกรรม Press Contact us ค้นหา
 
  ขอคิดอย่างสร้างสรรค์

     

 

หน้า 1 | 2 |  3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 |

ศาลรับฟ้องคดีศิธา ภิมุข เล่นนอกกติกา
Defamation charge accepted by Criminal Court

31 พฤษภาคม 2549
จากกรณีที่นายศิธา ทิวารี ในฐานะโฆษกพรรคไทยรักไทย และนายภิมุข สิมะโรจน์ ในฐานะรองโฆษกพรรคไทยรักไทย ได้ร่วมกันกล่าวหาใส่ความผม โดยการแถลงข่าวและให้สัมภาษณ์ต่อผู้สื่อข่าวเกี่ยวกับเครื่องบิน ซี ๑๓๐ ว่า >>
Managing the Economy in 2006
31 May 2006
For Thailand’s new government, political reform seems to rest two-fold on the making of constitutional amendments while also resolving an economic recession due to petrol price rises and the changing value of the baht.  >>
รัฐบาลใช้หลักการใดจัดลำดับความสำคัญ
Understanding the Government’s Prioritizing Principle

30 พฤษภาคม 2549
มติของคณะรัฐมนตรีวันที่ 23 พฤษภาคม 2549 ที่จะดึงโครงการเมกะโปรเจกต์ ได้แก่ รถไฟฟ้า 3 สาย คือ สายสีม่วง สีน้ำเงิน และสีแดง ออกจากโครงการโมเดิร์นไนเซชั่น เพื่อมาดำเนินการก่อน โดยให้เหตุผลว่าเป็นไปตามลำดับความสำคัญ แต่คำถามคือ โครงการรถไฟฟ้าทั้ง 3 สายมีลำดับความสำคัญสูงสุดจริงหรือไม่   >>
บทบาทของภาคประชาชน
The Role of the Civil Sector

29 พฤษภาคม 2549
เมื่อวันที่ 23 ..ที่ผ่านมา ผมมีโอกาสได้เข้าร่วมการเสวนาภาคประชาชนเรื่อง “สาวไส้ กกต จัดโดย สถาบันสหัสวรรษ ร่วมกับเครือข่ายจุฬาฯ ที่อาคารประชาธิปก-รำไพพรรณี คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีประชาชนและสื่อมวลชนเข้ารับฟังเป็นจำนวนมาก ในช่วงท้ายของการเสวนา ผมมีโอกาสได้เสนอความคิดเห็นบางประการเกี่ยวกับบทบาทของภาคประชาชนว่าควรทำอย่างไรบ้างท่ามกลางสภาพการเมืองในปัจจุบัน อันจะส่งผลทำให้สังคมการเมืองไทยดีขึ้น   >>
กรอ. การซ้ำรอยของการดำเนินงานอย่างไม่รอบคอบ
ICL, a repletition of careless project implementation

28 พฤษภาคม 2549
กระทรวงการคลังได้แก้ปัญหากองทุนให้กู้ยืมที่ผูกผันกับรายได้ในอนาคต (กรอ.) หรือ ICL กรณีที่วงเงินที่ได้รับการอนุมัติไม่เพียงพอต่อความต้องการกู้ยืมของประชาชน โดยจะหาทางออกให้ กรอ.ไปกู้เงินจากธนาคารออมสินมาเป็นการชั่วคราว เพื่อมาปล่อยกู้ให้กับนักเรียนในโครงการพิเศษก่อน และจะตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปีมาใช้คืนในปีต่อไป ซึ่งจากการประเมินพบว่า กรอ.อาจต้องกู้เพิ่มอีกไม่ต่ำกว่า 2 พันล้านบาท  >>
ไทยรักไทย : สถาบันการเมืองที่อาจเป็นไปไม่ได้
Thai Rak Thai : A Political Institution that Ought Not to Be

27 พฤษภาคม 2549
การกลับมาทำงานของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร หลังจากเว้นวรรค เพราะแรงกดดันทางการเมืองหลังเลือกตั้ง 2 เมษายน ไปได้ไม่กี่วัน เหตุผลที่นายกฯใช้เป็นข้ออ้าง คือ มีเสียงเรียกร้องจากประชาชนให้ตนกลับมาแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหายาเสพติด และปัญหาชายแดนภาคใต้   >>
การเมืองภาคประชาชนเชิงรุก
Promoting proactivity in civil politics

25 พฤษภาคม 2549
วันอังคารที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 ครม.มีมติเห็นชอบการนำโครงการรถไฟฟ้า 3 เส้นทาง คือ สายสีแดง สายสีน้ำเงิน และสายสีม่วง ที่มีความพร้อมมาดำเนินการก่อน โดยที่วิธีการประมูลยังเป็นแบบเดิมคือ เปิดกว้างการลงทุน เพื่อให้นักลงทุนเสนอเงื่อนไขการร่วมลงทุน   >>
 ติงลงทุนรถไฟฟ้าต้องโปร่งใส
Sounding a warning for skytrain construction transparency

24 พฤษภาคม 2549
วันอังคารที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 ครม.มีมติเห็นชอบการนำโครงการรถไฟฟ้า 3 เส้นทาง คือ สายสีแดง สายสีน้ำเงิน และสายสีม่วง ที่มีความพร้อมมาดำเนินการก่อน โดยที่วิธีการประมูลยังเป็นแบบเดิมคือ เปิดกว้างการลงทุน เพื่อให้นักลงทุนเสนอเงื่อนไขการร่วมลงทุน   >>
A plea for the government to stop its twisted economy assertions
24 May 2006
An analysis of this year’s economy shows more stagnancy than should be expected due to the effect of economic and political factors in 2006 so far. Yet the government attempts to create a positive image, saying that there are no economic problems. >>
 สร้างความกลัวเพื่อปูทางการกลับมาของนายกฯ
They’re creating fear as an excuse to push Thaksin’s return

23 พฤษภาคม 2549
การประกาศกลับมาทำหน้าที่นายกรัฐมนตรีอีกครั้งของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ไม่ได้สร้างความแปลกใจให้กับผู้ที่ติดตามข่าวสารทางการเมืองเท่าใดนัก เพราะหากตั้งสมมติฐานว่า การตัดสินใจของผู้นำรัฐบาลนั้นเป็นไปเพื่อการรักษาอำนาจทางการเมืองเป็นสำคัญ การประกาศเว้นวรรคที่เกิดขึ้นหลังเลือกตั้งวันที่ 2 เมษายนนั้น เกิดขึ้นเมื่อพรรคไทยรักไทยสามารถควบคุมอำนาจในสภาไว้ได้แล้ว ในทางกลับกัน การประกาศกลับเข้ามาปฏิบัติหน้าที่นายกฯ จึงเกิดขึ้นเมื่อมีความเสี่ยงว่าจะไม่สามารถรักษาอำนาจไว้ได้   >>
 บัณฑิตล้นตลาดแรงงาน
Graduates, in market oversupply

22 พฤษภาคม 2549
แม้ว่าขณะนี้การประกาศผลแอดมิชชั่นยังคงมีข้อร้องเรียนเกี่ยวกับคะแนนที่ผิดพลาดอยู่ โดยล่าสุดมีปัญหาเรื่องความซ้ำซ้อนของรายชื่อเด็กที่ที่ผ่านการคัดเลือกของกลุ่มสถาบันผลิตแพทย์ศาสตร์แห่งประเทศไทยกับผลแอดมิชชั่นซึ่งไม่ควรมีความซ้ำซ้อนกัน แต่สิ่งที่ผมมองไกลไปกว่าปัญหาของระบบสอบคัดเลือกแบบใหม่ที่เกิดจากความเร่งรีบของรัฐบาลนั้นคือ การที่รัฐบาลเร่งให้คนเข้าสู่การอุดมศึกษาโดยไม่ได้วางแผนด้านกำลังแรงงาน เช่น ให้มหาวิทยาลัยกำหนดจำนวนรับนักศึกษาตามความต้องการของมหาวิทยาลัย ทั้งที่ผ่านมาเราพบว่าปัญหาแรงงานระดับอุดมศึกษาล้นตลาดและทำงานต่ำกว่าวุฒิการศึกษาเริ่มปรากฎชัดมากขึ้น   >>
 ทำไมประชาชนถึงเลือก พ...ทักษิณ ชินวัตร
Why do the people vote for Thaksin Shinawat?

21 พฤษภาคม 2549
ที่ผ่านมาเพื่อนของผมที่อาศัยอยู่ในต่างประเทศ ได้ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ถามความคิดเห็นของผมว่า เหตุผลอะไรทำให้คนส่วนใหญ่ไม่ว่าจะเป็นคนขับแท็กซี่ หรือคนที่ขายของอยู่ในตลาดถึงอยากเลือก พ...ทักษิณ ชินวัตรเป็นนายกฯ เพราะจากการที่เขาได้สอบถามประชาชนกลุ่มนี้ พวกเขาตอบเพียงว่า “ทักษิณดีกับเขา” ซึ่งผมไม่แปลกใจที่เพื่อนของผมจะได้รับคำตอบในลักษณะดังกล่าว    >>
 พรรคการเมืองของมวลชน
The people’s political party

20 พฤษภาคม 2549
พรรคการเมืองมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการกำหนดอนาคตของประชาชนและอนาคตของประเทศ เพราะพรรคการเมืองที่ได้รับเสียงส่วนใหญ่จะมีโอกาสกำหนดนโยบายและบริหารประเทศ ในฐานะรัฐบาลอย่างไรก็ตาม ที่ผ่านมาจะเห็นว่า พรรคการเมืองตกอยู่ภายใต้กลุ่มทุนของพรรค หัวหน้าพรรคเป็นเจ้าของพรรคและมีอำนาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาดแต่เพียงผู้เดียว เพราะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ทั้งหมดให้กับพรรค  ส่งผลให้การบริหารประเทศเอื้อประโยชน์ต่อพวกพ้องมากกว่าประชาชน  >>
 วอนรัฐหยุดบิดเบือนความจริงทาง ศก.
A plea for government to put a stop to twisted economy assertions

19 พฤษภาคม 2549
ผมวิเคราะห์สถานการณ์เศรษฐกิจปี 2549 พบว่าเศรษฐกิจจะชะลอตัวลงมากกว่าที่คาดการณ์ไว้ เพราะได้รับผลกระทบจากปัจจัยทางเศรษฐกิจและการเมือง แต่รัฐบาลกลับเน้นการสร้างภาพว่าเศรษฐกิจไม่มีปัญหา    >>
The new election date decision, analyzed
19 May 2006
Following a meeting of the Election Commission with twenty political parties, the decision was made by a majority vote of thirteen parties, (TRT abstaining), for a new election date of October 22, 2006.  A royal decree will be issued on August 24, with applications open for party list MPs on August 29-31, 2006, and for district MPs on September 1-5, 2006. >>
 วิเคราะห์การกำหนดวันเลือกตั้งใหม่
The new election date decision, analyzed

18 พฤษภาคม 2549
จากการประชุมร่วมระหว่างคณะกรรมการการเลือกตั้งกับพรรคการเมือง 20 พรรค เสียงส่วนใหญ่คือ 13 พรรค(พรรคไทยรักไทยงดออกเสียง) มีมติให้มีการเลือกตั้งวันที่ 22 .. 49 โดยจะออกเป็นพระราชกฤษฎีกาในวันที่ 24 .. เปิดรับสมัคร ส.ส.บัญชีรายชื่อในวันที่ 29-31 สิงหาคม และรับสมัคร ส.ส.ระบบเขตในวันที่ 1 – 5 กันยายน ศกนี้  >>
 ครม.หวงอำนาจ ยื้อปลดล็อก 90 วัน
The cabinet seeks release from the Ninety Day ruling

17 พฤษภาคม 2549
กรณีที่รัฐบาลไม่นำการออกพระราชกฤษฎีกากำหนดวันเลือกตั้งเข้าพิจารณาในที่ประชุม ครม.ในวันที่ 16 พ.ค. 2549 โดยอ้างว่าคณะกรรมการการเลือกตั้งยังไม่ได้มีการรายงานผลการประชุมและมติเกี่ยวกับกำหนดวันเลือกตั้งให้กับรัฐบาลทราบอย่างเป็นทางการ >>
 ราคาน้ำมันจะถึง 100 ดอลลาร์ต่อบาร์เรลหรือไม่
Will the Oil Price Reach $ 100 a Barrel ?

15 พฤษภาคม 2549
สถานการณ์ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกที่สูงขึ้น จนหลายฝ่ายเกิดความวิตกว่า ราคาน้ำมันอาจขึ้นไปถึง 100 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล ซึ่งเป็นระดับที่อาจทำให้เกิดภาวะเศรษฐกิจโลกถดถอยอย่างรุนแรงได้ แต่ราคาน้ำมันจะไปถึงระดับดังกล่าวหรือไม่นั้น น่าจะขึ้นอยู่กับปัจจัยหลัก 2 ประการ  >>
 ความคาดหวังต่อ สว.ชุดใหม่
Expectations Placed in Thailand’s New Senators

13 พฤษภาคม 2549
ในที่สุด คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ก็ได้ประกาศรับรองสมาชิกวุฒิสภาครบทั้ง 200 คน แม้ว่าจะยังไม่สามารถทำงานได้ทันที เนื่องจากต้องรอให้การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) เรียบร้อยก่อน เพื่อให้สามารถเปิดสภาฯ ได้ การทำงานของสว.ชุดใหม่จึงจะเริ่มขึ้น พร้อม ๆ กับคำถามที่กล่าวกันอย่างมากว่า   >>
 จะบริหารเศรษฐกิจปี 2549 อย่างไร?
How to manage the economy in 2006

11 พฤษภาคม 2549
ดูเหมือนว่ารัฐบาลใหม่ที่จะเข้ามาเพื่อการปฏิรูปการเมือง จะไม่ได้มีบทบาทหลักเพียงการแก้ไขรัฐธรรมนูญเท่านั้น แต่ยังมีหน้าที่สำคัญในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจขาลง อันเป็นผลจากราคาน้ำมันที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วซึ่งส่งผลทำให้ระดับราคาสินค้าเพิ่มสูงขึ้น ประกอบกับค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้นซึ่งอาจทำให้เศรษฐกิจชะลอตัวลง    >>
ไอทีวี… ละครฉากใหญ่ที่เปิดเผยธาตุแท้รัฐบาล
ITV….A Big  Drama  to Reveal the Real Government

10 พฤษภาคม 2549
สืบเนื่องจากการที่สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) ร้องต่อศาลปกครองในกรณีสัมปทานไอทีวี  ศาลปกครอง (9 พฤษภาคม 2549) ได้มีคำสั่งเพิกถอนคำตัดสินอนุญาโตตุลาการเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2547 กรณีให้ บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) จ่ายค่าสัมปทานปีละ 230 ล้านบาท จากที่ต้องจ่ายปีละ 1,000 ล้านบาท รวมทั้งเพิกถอนคำตัดสินที่ให้ไอทีวีปรับลดสัดส่วนนำเสนอรายการข่าวสารสาระต่อรายการบันเทิง จากเดิม 70:30 เป็น 50:50    >>
มิติที่ถูกละเลย…ในระบบแอดมิชชั่น
Neglected Dimensions of the University Admissions System

9 พฤษภาคม 2549
การสอบคัดเลือกเข้าเรียนต่อระดับมหาวิทยาลัยภายใต้ระบบแอดมิชชั่นที่กำลังเป็นปัญหาใหญ่อยู่ในขณะนี้   เป็นเรื่องที่รัฐบาลไทยรักไทยและผู้เกี่ยวข้องจะต้องออกมาแสดงความรับผิดชอบอย่างไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ เนื่องจากปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นล้วนแล้วแต่เป็นผลอันเกิดจากการบริหารนโยบายด้านการศึกษาที่ผิดพลาดของรัฐบาล ดังที่ผมได้กล่าวไว้ในจดหมายฉบับก่อนหน้านี้   >>
ประชาธิปไตยทางตรง: แนวโน้มในอนาคต
(Direct Democracy : The coming Tendency
)

8 พฤษภาคม 2549
ท่ามกลางกระแสการเมืองที่ร้อนระอุในปัจจุบัน ระบอบการเมืองประชาธิปไตยในระบบตัวแทนดูจะถูกมองว่าไม่สามารถหาทางออกให้ปัญหาได้ดีนัก เพราะวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพื่อไปเป็นผู้แทนของประชาชนกลายเป็นภาพพจน์ต้นเหตุของความวุ่นวาย  >>
ปัญหาแอดมิชชั่น กระจกสะท้อนความบกพร่องของรัฐบาล
(Problems in Admission System : A  Defection of The Government’s Deficiency
)

7 พฤษภาคม 2549
จากปัญหาแอดมิชชั่นเป็นกระแสที่ก่อเกิดความปั่นป่วนแก่เยาวชนและสังคมไทยมากในขณะนี้ มีปัญหามาตั้งแต่การก่อร่างแนวคิดนี้ในประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็น การปรับเปลี่ยนระบบนี้ เป็นการคิดกันแต่ระดับผู้บริหาร ไม่ฟังความคิดคนอื่น  ไม่มีการทำวิจัย  ไม่มีการรับฟังความคิดเห็น ก่อนนำไปใช้จริง ทั้งที่มีคนหลายกลุ่มเสนอให้ทำวิจัย ประชาพิจารณา  >>
ปตท.ไม่จริงใจในการช่วยเหลือประชาชน
(PTT was not sincere in helping the people)

6 พฤษภาคม 2549
จากการที่ ปตท.ได้ให้เหตุผลในการปรับราคาน้ำมันขึ้นในวันที่ 5 พฤษภาคม 2549 ว่า การที่ ปตท.ชะลอการปรับราคาน้ำมันส่งผลให้มีประชาชนเข้ามาใช้บริการเพิ่มขึ้นถึงเท่าตัว เนื่องจากราคาน้ำมันต่ำกว่าผู้ค้ารายอื่นถึง 90 สตางค์ต่อลิตร ส่งผลให้เกิดปัญหาในการจัดส่งน้ำมัน เพราะรถขนส่งน้ำมันวิ่งได้เฉพาะเวลากลางคืน ทำให้ปั๊มน้ำมันบางจุดไม่สามารถรองรับปริมาณความต้องการได้เพียงพอ จึงเกิด >>
ทรท.เล่นการเมืองแบบเก่า
(TRT is playing an old political game
)

5 พฤษภาคม 2549
จากการที่ทีมโฆษกของของพรรคไทยรักไทยได้แถลงข่าวตอบโต้คำปราศรัยของคุณอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ผมเห็นว่า สิ่งที่ทีมโฆษกแถลงข่าวนั้น เป็นการพยายามลดความน่าเชื่อถือของพรรคประชาธิปัตย์ในสายตาประชาชนในประเด็นต่าง ๆ อาทิ >>
ถามหาความรับผิดชอบ หากเลือกตั้งไม่ชอบธรรม
(A call for responsibility in the case of election illegitimacy)

3 พฤษภาคม 2549
สถานการณ์ทางการเมืองในปัจจุบันน่าสนใจอย่างยิ่ง โดยเฉพาะการที่ฝ่ายตุลาการ คือ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง และศาลรัฐธรรมนูญ เข้ามามีบทบาทสำคัญในการแก้วิกฤตการณ์ทางการเมืองที่กำลังมีแนวโน้มไปสู่ความรุนแรง  >>
ปฏิรูปการเมืองเดินหน้าได้ทันที
(Political Reform Can Proceed Forthwith)

1 พฤษภาคม 2549
สมาคมวิจัยการตลาดแห่งประเทศไทย เปิดเผยผลการศึกษาทัศนคติของคนกรุงเทพฯเกี่ยวกับความคิดเห็นต่อปัญหาทางเศรษฐกิจและการเมืองที่เกิดขึ้นในช่วงไตรมาสแรก ซึ่งพบว่าปัญหาทางการเมืองได้ส่งผลต่อความไม่มั่นใจในภาวะเศรษฐกิจ ในสัดส่วนเพิ่มขึ้นถึง ร้อยละ 67 จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด จากเดิมที่เคยมีความไม่มั่นใจอยู่ที่ ร้อยละ 62 ในการสำรวจเมื่อปลายปี 2548 >>
ความน่าเชื่อถือของนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาล
(The credibility of the government’s economic policy is at stake
)

29  เมษายน 2549
สมาคมวิจัยการตลาดแห่งประเทศไทย เปิดเผยผลการศึกษาทัศนคติของคนกรุงเทพฯเกี่ยวกับความคิดเห็นต่อปัญหาทางเศรษฐกิจและการเมืองที่เกิดขึ้นในช่วงไตรมาสแรก ซึ่งพบว่าปัญหาทางการเมืองได้ส่งผลต่อความไม่มั่นใจในภาวะเศรษฐกิจ ในสัดส่วนเพิ่มขึ้นถึง ร้อยละ 67 จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด จากเดิมที่เคยมีความไม่มั่นใจอยู่ที่ ร้อยละ 62 ในการสำรวจเมื่อปลายปี 2548 >>
คลังถังแตก : มะเร็งร้ายลามรัฐวิสาหกิจ
(Fiscal failure :  A cancer now spreading into government enterprises
)

28  เมษายน 2549
จากการที่กระทรวงการคลังมีมาตรการบังคับให้รัฐวิสาหกิจต้องส่งรายได้เข้าคลังเพิ่มอีกร้อยละ 15 โดยรายได้ที่ต้องนำส่งในปีงบฯ 2549 แบ่งตามประเภทของรัฐวิสาหกิจ เช่น กลุ่มสาธารณูปโภคและสาธารณูปการให้เพิ่มการนำส่งรายได้เป็นร้อยละ 45 ของกำไรจากเดิมร้อยละ 30 และนำส่งให้เร็วขึ้นจากเดิม 1 ครั้งต่อปี เป็น 2 ครั้ง เพื่อให้ทันกับรายจ่ายของภาครัฐที่เพิ่มขึ้นนั้น  >>
อย่าเร่งดำเนินการก่อนคำวินิจฉัย 3 ศาล
(Don’t rush ahead of three court judgements)

27  เมษายน 2549
ภายหลังจากที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงมีกระแสพระราชดำรัสต่อปัญหาสถานการณ์บ้านเมืองเมื่อวันที่ 25 เมษายนที่ผ่านมา หลายฝ่ายต่างร่วมแสดงตนน้อมรับในกระแสพระราชดำรัส และนำไปปฏิบัติตามภาระหน้าที่ที่สามารถทำได้ ด้วยการคิดว่าจะช่วยกันคลี่คลายแนวทางต่างๆ ให้เป็นไปตามพระราชประสงค์อย่างไร  >>
ทำไมจึงเกิดปรากฏการณ์การฉีกบัตรเลือกตั้ง(อีกครั้ง)
(Why the Torn Ballot Phenomenon Visits Again)

26  เมษายน 2549
ในการเลือกตั้ง ส.ส.ครั้งใหม่ของพื้นที่ทั้งหมด 40 เขต 17 จังหวัด เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2549 ได้เกิดการกระทำที่เรียกว่า “อารยะขัดขืน” อีกครั้ง โดยการฉีกบัตรเลือกตั้ง ซึ่งครั้งนี้มีประชาชนฉีกบัตรเลือกตั้งมากถึง 18 คน ด้วยเหตุผลที่ว่า “ไม่พอใจ กกต. และไม่พอใจการจัดสถานที่” >>
คุณสมบัติประธานวุฒิสภาที่พึงประสงค์
(Desirable Qualifications of the Senatorial Chairman)

25  เมษายน 2549
ผลการเลือกตั้ง สว. ที่ออกมาทั้ง 200 คน ก่อให้เกิดเสียงวิพากษ์วิจารณ์กันไปต่าง ๆ นา ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียงครหาว่าเป็นสภาผัวเมีย สภาเครือญาตินักการเมือง  หรือการแบ่งแยกเป็น สว. ซีกรัฐบาล สว.ซีกไม่ใช่รัฐบาล ฯลฯ  โดยประเด็นถกเถียงล่าสุดคือในบรรดาว่าที่ สว. ทั้ง 200 คนนั้น ใครจะเป็นผู้ที่มีความเหมาะสมมากที่สุดในการดำรงตำแหน่งเป็น>>
ว่าที่ ส.ว.หญิงชุดใหม่ร่วมสร้างพลังเพื่อประโยชน์ของประชาชน
(Female senators should play important roles in the Parliament
)

24  เมษายน 2549
ขณะนี้หลายท่านอาจได้ทราบ ผลการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ในทุกจังหวัดแล้ว โดยผมเชื่อว่า ว่าที่ ส.ว.ทุกท่านจะเข้ามาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติของวุฒิสภาอย่างเต็มที่ โดยเห็นแก่ประโยชน์ของประชาชนเป็นที่ตั้ง ไม่ใช่ผลประโยชน์ของเครือญาติ พวกพ้อง>>
ควรเปิดโอกาสให้ผู้สมัคร ส.. หาเสียงหรือไม่
(Should senators have an electioneering option or not?
)

20  เมษายน 2549
ก่อนการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา (..) เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2549 สำนักวิจัยสวนดุสิตโพล ได้เปิดเผยผลสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการเลือกตั้ง ส.. โดยผลสำรวจพบว่าประชาชนในกทม.ร้อยละ 42.54 และในต่างจังหวัด 45.06 ยังไม่แน่ใจว่าเลือก ส..เพื่อไปทำหน้าที่อะไร เนื่องจากมีความเข้าใจว่ามีหน้าที่คล้ายกับ ส.. แต่ในส่วนที่ >>
การเคลื่อนไหวทางสังคม เงื่อนไขความสำเร็จของการปฏิรูปการเมือง
( Social  Movements :  Successful Conditions for Political Reform )
14  เมษายน 2549
ถึงบัดนี้ กระแสเรียกร้องให้มีการปฏิรูปการเมืองรอบสองได้รับความสนใจจากสาธารณชนอย่างจริงจัง เริ่มตั้งแต่การเสนอให้แก้ไขรัฐธรรมนูญมาตรา 313 โดยเปิดพื้นที่ให้ประชาชน นักวิชาการ นักวิชาชีพ บุคลากรจากระบวนการยุติธรรม และผู้เชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ ที่มีความเป็นกลางทางการเมือง ได้เข้ามามีส่วนร่วมแก้ไขและยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ แทนบทบาทของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏรและสมาชิกวุฒิสภา >>
ปฐมบทแห่งการชักใย
( The Beginning of the Puppet Show )

13  เมษายน 2549
กรณี พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร หัวหน้าพรรคไทยรักไทย พร้อมด้วย นายกันตธีร์ ศุภมงคล รักษาการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และนายพงศ์ศักดิ์ รัตนพงศ์ไพศาล รักษาการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคมนาคม ได้นัดพบปะกับเอกอัครราชทูตจากประเทศรัสเซีย ฝรั่งเศส และญี่ปุ่น ประจำประเทศไทย ณ ที่ทำการพรรคไทยรักไทย ถนนราชวิถี เมื่อช่วงสายของวันที่ 10 เมษายน ที่ผ่านมานั้น  >>

นายกที่พึงประสงค์ของไทย : เก่งและมีคุณธรรม
( A Thai Primeminister : Morality and Capabulity )

12 เมษายน 2549
มื่อวันที่ 9 เมษายน 2549 ที่ผ่านมา สำนักเอแบค โพลล์ ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพฯ โดยตั้งคำถามว่า “หากสามารถเลือกได้ว่าจะให้ใครมาเป็นนายกฯ โดยที่ไม่ปิดกั้นว่าผู้นั้นจะต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือไม่ ประชาชนต้องการใครเข้ามาเป็นนายกฯ” ผลสำรวจที่ได้ คือ ร.ต.อ.ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ เป็นคนที่ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เลือกสูงถึงร้อยละ 34.5 >>

“ปฏิรูปการเมือง” โจทย์ใหญ่ที่ต้องแก้ไขอย่างรอบคอบ
(Political Reform
)
9 เมษายน 2549
จากการที่นายโภคิน พลกุล รองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย ได้กล่าวถึง แนวทางการปฏิรูปการเมือง ในเรื่องการแก้รัฐธรรมนูญว่า คนกลางที่จะเข้ามายกร่างอาจจะมี 2 ส่วน คือ หนึ่ง มาจากหลากหลายสาขาอาชีพ ซึ่งจะยึดตามกฎหมายของสภาที่ปรึกษาฯเป็นหลัก และอาจจะใช้พื้นฐานของแต่ละจังหวัดด้วย สอง มาจากตัวแทนอดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ (ส...) >>
ใครจะมาเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป?
(Who Will Be The Next Prime Minister of Thailand?
)
7 เมษายน 2549
เมื่อวันที่ 4 เมษายนที่ผ่านมา ...ทักษิณ ชินวัตร รักษาการนายกรัฐมนตรี ได้ประกาศจะไม่รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้งเสร็จสิ้น เพื่อความสมานฉันท์และปรองดองของคนในชาติ แต่ยังคงทำหน้าที่ในฐานะ ส.ส. และหัวหน้าพรรคไทยรักไทย เพื่อผลักดันนโยบายต่าง ๆ ต่อไป >>
ทำไม พ... ทักษิณ จึงไม่รับตำแหน่งนายกฯ
(Why is Thaksin Refusing the Premiership?)

6 เมษายน 2549
การแถลงข่าวของ พ...ทักษิณ ชินวัตร ผ่านโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจ เมื่อคืนวันที่ 4 เมษายน 2549 ที่ผ่านมา ซึ่งรักษาการณ์นายกรัฐมนตรีประกาศไม่ขอรับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในการจัดตั้งรัฐบาลชุดใหม่ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น และจะต้องรักษาการณ์ไปจนกว่ากระบวนการสรรหานายกรัฐมนตรีเป็นที่เรียบร้อย โดยให้เหตุผลว่า เพื่อยุติความขัดแย้งและสร้างความปรองดองแห่งชาติ ในปีแห่งการเฉลิมฉลองการครองราชย์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวครบ 60 ปี >>
No Vote : ความต้องการที่แท้จริงของประชาชน
(No Vote : The Real Need of the People
)

5 เมษายน 2549
จากการเลือกตั้งวันอาทิตย์ที่ 2 เมษายน 2549 มีหลายประเด็นที่ประชาชนให้ความสนใจ โดยเฉพาะ ผลการเลือกตั้งที่ออกมาอย่างไม่เป็นทางการว่า “ไม่เลือกใคร” ในเขตกรุงเทพมหานครฯ มีคะแนนมากถึง 1,319,268 เสียง มากกว่าคะแนนของผู้ได้รับเลือกเป็น ส..รวมกัน 35 เขต และมีจำนวนบัตรเสียมากถึง 95,910 ใบ ในขณะที่ต่างจังหวัด จำนวนของลงคะแนน “ไม่เลือกใคร” มีมากถึง 6,766,883 เสียง และมีจำนวนบัตรเสียมากถึง 2,962,593 บัตร นอกจากนี้
 >>
ครม. สมควรเรียนเศรษฐศาสตร์พื้นฐานเพิ่ม (1)
(Cabinet should be retrained in fundamental economics
(1)
)
4  เมษายน 2549
เศรษฐศาสตร์เข้าใจยากจัง” นี่เป็นคำบ่นของหลาย ๆ คน ทั้งผู้ที่เคยเรียน และผู้ที่ไม่เคยเรียนเศรษฐศาสตร์แต่มีโอกาสได้ฟังเรื่องราวข่าวสารเกี่ยวกับเศรษฐกิจหรือเศรษฐศาสตร์ ซึ่งความจริงแล้วคำพูดดังกล่าวมีส่วนถูกอยู่บ้าง เนื่องจากแก่นของวิชาเศรษฐศาสตร์มิใช่เรื่องของเนื้อหาสาระและข้อมูล แต่เป็นเรื่องของวิธีการและเครื่องมือในการคิดชุดหนึ่ง ดังนั้นผู้ที่ไม่ชอบการคิดที่สลับซับซ้อนจึงอาจรู้สึกว่ายาก  >>
วอนทักษิณเตือนสติกลุ่มผู้สนับสนุนตนยึด “ชุมนุมแบบสันติ”
(
A plea for peaceful assembly : Calling Thaksin to warn his supporters
)

3  เมษายน 2549
สถานการณ์ทางการเมืองในปัจจุบันมีหลายเหตุการณ์ที่สามารถนำไปสู่ความรุนแรงได้ง่าย ซึ่งชนวนของเหตุการณ์ต่าง ๆ นั้นมาจาก สถานการณ์ทางการเมืองที่ถูกแบ่งแยกออกเป็นสองขั้วคือ กลุ่มที่สนับสนุนนายกฯ ทักษิณ และกลุ่มที่ไม่สนับสนุนนายกฯ ทักษิณ  >>