|
หน้า 1
|
2
| 3
|
4 |
5 |
6 |
7 |
8 |
9 | |
|
หมวดเศรษฐกิจ
หมวดการเมืองไทย/ต่างประเทศ
หมวดสังคม
หมวดการศึกษา |
|
MP
Autonomy
and
Political
Party
Weakness
29
June
2007
When one looks at the
substance of the new
Constitutional draft,
one cannot help but
think that politicians
who look set and ready
to become Members of
Parliament (MPs) after
the upcoming general
election must certainly
be among those who
support the draft. This
is because several
constitutional draft
provisions reflect the
intention to allow MPs,
as peoples
representatives, more
autonomy and freedom in
fulfilling their duties
without having to toe
the strict lines of
their respective
political parties.
... >> |
|
เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ
The Purpose of the Constitution
22
มิถุนายน
2550
ขณะที่กำลังร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่อยู่นั้น ผมมีข้อเสนอหนึ่งที่อยากให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญทำควบคู่กับไปด้วยคือ การจัดทำ หนังสือเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญในแต่ละหมวด แต่ละมาตรา เหตุใดถึงควรจัดทำหนังสือเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ...>> |
|
Thai
Politics
In the
Wake of
the
Constitutional
Tribunals
Verdicts
21
June
2007
Thailands
political history
records another major
event when the
nine-member
Constitutional Tribunal
took more than ten hours
reading out the verdicts
of the charges filed by
the attorney-general to
dissolve five political
parties; namely,
Democrat Party,
Progressive Democratic
Party, ... >> |
|
ไม่ต้องเสียเวลาตีความ ถ้ามีหนังสือนิยามศัพท์รัฐธรรมนูญ
Definition Booklet for Constitution
20
มิถุนายน
2550
ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับรับฟังความคิดเห็น ที่ได้ตีพิมพ์ออกมาให้ประชาชนศึกษากัน ก่อนที่จะถึงเวลาลงประชามติเพื่อรับร่างฯนั้น ปรากฏว่ามีคำเฉพาะที่อาจตีความได้มากกว่าหนึ่งอย่าง ภาษาหรือข้อความบางประโยคยังคลุมเครือ และยากต่อความเข้าใจของประชาชนทั่วไปได้
...>> |
|
การเมืองไทยหลังคำวินิจฉัยของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ
Thai Politics In the
Wake of the
Constitutional
Tribunals Verdicts
12
มิถุนายน
2550
ถือเป็นคดีประวัติศาสตร์ของการเมืองไทย
เมื่อคณะตุลาการรัฐธรรมนูญทั้ง
9
คน
ใช้เวลาอ่านคำวินิจฉัยนับ
10
ชั่วโมง
ที่อัยการสูงสุดยื่นคำร้องขอให้ยุบพรรคการเมือง
5
พรรคได้แก่
พรรคประชาธิปัตย์
พรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า
พรรคไทยรักไทย
พรรคพัฒนาชาติไทย
พรรคแผ่นดินไทย
ซึ่งเป็นคดีที่พรรคไทยรักไทยถูกกล่าวหาว่าจ้างพรรคเล็กลงสมัครเพื่อหลีกเลี่ยงกฎ
20 %
หากเขตเลือกตั้งมีผู้สมัครเพียงพรรคเดียว
ขณะที่พรรคประชาธิปัตย์ถูกตั้งข้อหาใส่ร้ายพรรคไทยรักไทยและขัดขวางการเลือกตั้ง.
...>> |
|
เวลาที่เหลือของรัฐบาล
The
remaining
time for
this
government
4
มิถุนายน
2550
เมื่อวันที่
24
พฤษภาคม
ที่ผ่านมา
นายกรัฐมนตรีได้แถลงผลงานของรัฐบาลในรอบ
6
เดือนที่ผ่านมา
กระแสตอบรับคงเป็นที่ทราบดีว่า
ได้รับคำวิพากษ์วิจารณ์มากกว่าคำชม
แม้ว่าจะมีเสียงชื่นชมและยอมรับในความเป็นคนดีและซื่อสัตย์ของนายกรัฐมนตรี
แต่การทำงานที่เชื่องช้า
ขาดรูปธรรมในการแก้ปัญหา
และละเลยการแก้ปัญหาสำคัญในหลายเรื่องย่อมสร้างความไม่พอใจให้เกิดขึ้นได้...>> |
|
There
should
be
principles
in
constitutional
drafting
11
May
2007
Thinking together,
building together,
joining together in
drafting the
constitution is the
slogan urging the public
to take part in drafting
the new constitutiona
commendable effort by
the Constitution
Drafting Committee (CDC)
to promote public
participation. While
certainly praiseworthy,
this constitution would
not be the best one
possible if its
deliberations are not
conducted on the basis
of good principles.
>> |
|
ตุลาการกับการแก้ไขปัญหาวิกฤตของชาติ
The judiciary and
national crisis
resolution
8
พฤษภาคม
2550
ข้อเรียกร้องให้
อำนาจตุลาการ
หรือ
ตุลาการภิวัตน์
เข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาวิกฤตของบ้านเมือง
นอกเหนือไปจากอำนาจหน้าที่ในการพิพากษาคดีต่าง
ๆ
ปรากฏอยู่ในร่างรัฐธรรมนูญ
มาตรา 68 วรรคสอง
ในกรณีที่ประเทศตกอยู่ในภาวะวิกฤต
เหตุการณ์คับขัน
หรือเกิดสถานการณ์จำเป็นอย่างยิ่งในทางการเมือง
ให้มีการประชุมร่วมกันระหว่างนายกรัฐมนตรี
ประธานสภาผู้แทนราษฎร
ประธานศาลรัฐธรรมนูญ
ประธานศาลฎีกา
ประธานศาลปกครองสูงสุด
และประธานองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
เพื่อพิจารณาหาทางป้องกันหรือแก้ไขปัญหาดังกล่าว
...>> |
|
ทางเลือกการสร้างเงินออมจากสลากกินแบ่งรัฐบาล
Building Ones Savings
from Lotteries ?
5
พฤษภาคม
2550
กระแสข่าวที่รัฐบาลไฟเขียวให้กระทรวงการคลังออกสลากกินแบ่งรัฐบาลหรือล็อตเตอรี่
2 ตัว และ 3 ตัว
เพื่อแก้ไขปัญหาหวยใต้ดินซึ่งเป็นการพนันที่ผิดกฎหมาย
ทำให้เกิดการถกเถียงแสดงความคิดเห็นกันอย่างมาก
ทั้งกลุ่มที่เห็นด้วยและกลุ่มที่คัดค้านการกระทำดังกล่าว
...>> |
|
How to
Attract
Foreign
Direct
Investment
27
April
2007
The 1997
constitution
is a
charter
that can
be
referred
to as
the
peoples
constitution
due to
the
unprecedented
level of
public
participation
at every
drafting
stage.
This
version
also
contains
a rather
complete
and
comprehensive
set of
provisions
on
peoples
rights
and
freedom
in many
different
aspects.
>> |
|
ควรเปิดอิสระให้ผู้สมัคร
ส.ส.
ไม่ต้องสังกัดพรรคหรือไม่
Should we free our
parliamentary
candidates from
the need to belong to a
party
22
เมษายน
2550
ถึงแม้ว่า
รัฐธรรมนูญฉบับ 2540
พยายามที่จะเปิดโอกาสให้
ส.ส.
ที่สังกัดพรรคมีอิสระในการปฏิบัติหน้าที่
โดยเฉพาะการไม่ต้องปฏิบัติตามมติหรือข้อบังคับของพรรคหากขัดหรือแย้งกับหลักการพื้นฐานแห่งการปกครองในระบอบประชาธิปไตยโดยมีสิทธิร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยได้(มาตรา
47)
แต่ในความเป็นจริงทางการเมือง
หาก ส.ส.
ท่านใดฝ่าฝืนมติของพรรค
ย่อมถูกตรวจสอบในด้านพฤติกรรมว่าปฏิบัติตามระเบียบวินัยของพรรคหรือไม่
และโอกาสที่พรรคจะไม่ส่งลงสมัครในการเลือกตั้งสมัยหน้าก็มีสูงยิ่งขึ้น
ซึ่งทำให้ ส.ส.
เกิดความกลัวและปฏิบัติหน้าที่ราวกับหุ่นยนต์ที่ต้องปฏิบัติตามคำสั่ง ...>> |
|
ลบ
ข้อจำกัด
เพื่อสิทธิประชาชน
Eliminate Limits to the
Peoples Rights
7
เมษายน
2550
การร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่นี้
สิ่งสำคัญประการหนึ่งที่ควรพิจารณา
ได้แก่
การบังคับใช้กฎหมาย
ที่ผ่านมาถือว่าเป็นข้อจำกัดหนึ่งที่เกิดขึ้นในรัฐธรรมนูญฉบับปี
2540
แม้ว่ารัฐธรรมนูญฉบับนี้จะเป็นรัฐธรรมนูญที่มีการบัญญัติในเรื่องสิทธิของประชาชน
แต่บทบัญญัติในหลายมาตรากลับไม่สามารถบังคับได้จริง
...>> |
|
ทบทวนการตรวจสอบร่างกฎหมายก่อนประกาศใช้จริง
Check the Constitution
before It Is Announced
6
เมษายน
2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ.2540
มาตรา 262
ระบุว่า
หาก ส.ส.
ส.ว.
เห็นว่าร่างกฎหมายใดมีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ
หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ
จะต้องเสนอความเห็นต่อประธานสภาผู้แทนราษฎร
ประธานวุฒิสภา
หรือประธานรัฐสภา
แล้วแต่กรณี และประธานฯ
จึงส่งคำร้องขอนั้นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยชี้ขาดต่อไป
ก่อนที่นายกรัฐมนตรีจะนำร่างกฎหมายนั้นขึ้นทูลเกล้าเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยและประกาศใช้เป็นกฎหมาย
...>> |
|
Solving R&D Problems
through Demand-Side
Management
6 April
2007
The
Ministry of Industry and
the Ministry of Science
and Technology are
working on a master plan
to strengthen the
intellectual
infrastructure and
support sufficiency
economy, as well as to
increase Thailands
competitiveness in a
sustainable manner. ...>> |
|
เงินสนับสนุนพรรคฯ
:
สร้างพรรคการเมืองของประชาชน
Political Parties
Should Be Funded by
Donations
5
เมษายน
2550
สิ่งที่อยู่ในใจของหลายคนในการเลือกผู้แทน
คือ
เราต้องการให้คนดีและคนที่มีความรู้ความสามารถได้รับการเลือกตั้งเข้าสู่สภา
แต่ขณะเดียวกัน
เราคงมีคำถามว่า
จะดึงดูดคนดีและเก่งเข้ามาทำหน้าที่ตัวแทนประชาชนให้มากขึ้นอย่างไร
เพราะประสบการณ์ที่ผ่านมา
แม้เราจะมีรัฐธรรมนูญฉบับที่ประชาชนมีส่วนร่วมมากที่สุด
และสะท้อนอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชนได้มากกว่าฉบับอื่น
ๆ
แต่ปรากฏว่ายังไม่สามารถสกัดกั้นนักการเมืองที่ไม่เหมาะสมเข้ามาบริหารประเทศได้
...>> |
|
เวลาสังกัดพรรค กับ
จัดการเลือกตั้ง...ต้องสอดคล้อง
The Time to Belong to a
Political Party Should
Correspond with the Date
of the Election
4
เมษายน
2550
ประเด็นการเป็นสมาชิกพรรคการเมืองไม่น้อยกว่า
90
วันก่อนวันรับสมัครรับเลือกตั้ง
นับเป็นอีกประเด็นหนึ่งที่อยู่ในความสนใจแก้ไขรัฐธรรมนูญ
เนื่องจากที่ผ่านมา
การกำหนดกติกาดังกล่าว
กลับส่งผลให้ผู้นำพรรคการเมืองบางพรรคใช้เงื่อนไขนี้เป็นอำนาจต่อรองกับ
ส.ส.ภายในพรรค
ให้ต้องทำตามมติและความเห็นของพรรคทุกอย่าง
โดยไม่ให้ ส.ส.คนใดออกนอกแถว
และขณะเดียวกัน หาก ส.ส.จะย้ายพรรคก่อนมีการเลือกตั้ง
ส.ส.จะต้องรับความเสี่ยงจากการที่รัฐบาลอาจยุบสภา
เพราะกฎหมายระบุว่า
...>> |
|
ส.ส. 1 ใน 4
ยื่นอภิปรายนายกฯ ได้
Engaging in debate with
the Prime Minister : One
fouth of all MPs should
have their way
25 มีนาคม
2550
บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ
พ.ศ.
2540
ได้จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญขึ้นในรูปแบบองค์กรศาล
เพื่อทำหน้าที่แทนคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ
โดยตรวจสอบ5กฎหมายที่รัฐสภาออกมาว่าขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่
รวมถึงเพื่อพัฒนาความเป็นตุลาการที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะสำหรับ
และเป็นอิสระจากองค์กรทางการเมือง
...>> |
|
ทำไมนายกรัฐมนตรีควรมาจากการเลือกตั้ง
The Important of
Elections to Select the
Prime Ministrer
23 มีนาคม
2550
ประเด็นสำคัญและถูกจับตามองมากที่สุดในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับ
๒๕๕๐
คงหนีไม่พ้นประเด็นที่มาของนายกรัฐมนตรี
ซึ่งเป็นประเด็นที่มีความอ่อนไหว
เพราะมีความหวั่นเกรงว่าจะมีการสืบทอดอำนาจทางการเมือง
ทั้งของฝ่ายทหารที่ทำการรัฐประหารและขั้วอำนาจเก่า
ผ่านการเปิดช่องให้นายกมาจากคนนอกได้
หรือการไม่ระบุที่มาของนายกฯ
ไว้เลย
...>> |
|
ความสำคัญในการดำรงอยู่ของศาลรัฐธรรมนูญ
(The
Essential
of
Remaining
Constitution
Court)
22 มีนาคม
2550
บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ
พ.ศ.
2540
ได้จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญขึ้นในรูปแบบองค์กรศาล
เพื่อทำหน้าที่แทนคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ
โดยตรวจสอบกฎหมายที่รัฐสภาออกมาว่าขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่
รวมถึงเพื่อพัฒนาความเป็นตุลาการที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะสำหรับ
และเป็นอิสระจากองค์กรทางการเมือง
...>> |
|
มุมมองรัฐศาสตร์-เศรษฐศาสตร์ในการเลือก
ส.ส.
MP Elections a Political-Economic
Perapective
19 มีนาคม
2550
ข้อถกเถียงในประเด็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
(ส.ส.)
เพื่อแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญในครั้งนี้
เรื่องหนึ่งที่ต้องพิจารณาให้รอบคอบในเชิงหลักการ
ได้แก่ การเลือกตั้ง ส.ส.
ว่าควรมีระบบการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเรียงเบอร์
หรือ เขตเดียวเบอร์เดียว
จึงสะท้อนความเท่าเทียมและการเป็นตัวแทนประชาชนทั้งประเทศได้มากกว่ากัน...>> |
|
ข้อเสนอระยะยาวการจัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญ
Long-term Proposal for
the Establishment of the
Constitution Court
18
มีนาคม
2550
ในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่นี้
สังคมส่วนหนึ่งเกิดคำถามสำคัญ
คือ
ศาลรัฐธรรมนูญควรมีอยู่หรือไม่?
และ ถ้าคิดว่า
ยังควรมีอยู่
จะต้องแก้ไขกระบวนการสรรหา
อำนาจหน้าที่ หรือไม่
อย่างไร?...>> |
|
ศาลเลือกตั้งจำเป็นหรือไม่?
Establishing
the
Election
Court.
13
มีนาคม
2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ.2540
ได้ให้อำนาจแก่คณะกรรมการการเลือกตั้ง
(กกต.)
ซึ่งเป็นองค์กรอิสระเพื่อจัดการเลือกตั้งทั่วไป
แต่อำนาจหน้าที่ของ
กกต.
ในรัฐบาลชุดที่แล้วได้ถูกแทรกแซงจากอำนาจทางการเมือง
และทำลายระบบตรวจสอบถ่วงดุลอำนาจ
...>> |
|
ตั้งองค์กรอิสระ หลักประกัน รธน . หลังประกาศใช้
Establish Independent Organizations to Guantee the Constitution
12
มีนาคม
2550
ประเด็นทางการเมืองที่อยู่ในใจของใครหลาย
ๆ
คนคงหนี้ไม่พ้น
คือ
เรื่องการร่างรัฐธรรมนูญฉบับปี
2550
นั้น ว่า รัฐธรรมนูญฉบับปี 2550 จะมีหน้าตาเป็นเช่นไร ? แต่อย่างไรก็ตาม คำถามที่สำคัญกว่า คือ
...>> |
|
รมต .
ไม่เป็น
ส . ส .
ชั่วคราว
Ministrers
are not
Temporary
MPs
11
มีนาคม
2550
ปัญหาหนึ่งที่เกิดจากการบังคับใช้รัฐธรรมนูญ
2540
ได้แก่
การให้ ส
. ส .
ที่ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี
ต้องพ้นจากตำแหน่ง
ทำให้เกิดปัญหาเมื่อนายกรัฐมนตรีปรับคณะรัฐมนตรี
รัฐมนตรีที่ถูกปรับเปลี่ยน
ไม่ได้
ดำรงตำแหน่งต่อไป
ย่อมกลายเป็นเหมือนผู้ที่เว้นว่างทางการเมืองไปโดยปริยาย
...>> |
|
ตั้งองค์กรอิสระ
หลักประกัน รธน.
หลังประกาศใช้
Establish Independent
Organizations to Guantee
the Constitution
9
มีนาคม
2550
ประเด็นทางการเมืองที่อยู่ในใจของใครหลาย
ๆ คนคงหนี้ไม่พ้น คือ
เรื่องการร่างรัฐธรรมนูญฉบับปี
2550
นั้น ว่า
รัฐธรรมนูญฉบับปี
2550
จะมีหน้าตาเป็นเช่นไร
?
แต่อย่างไรก็ตาม
คำถามที่สำคัญกว่า คือ
...>> |
|
การได้มาซึ่ง
กกต.
ที่เหมาะสม
The
Appropriate
Selection
of the
Election
Commission
28
กุมภาพันธ์
2550
การยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่เกี่ยวกับ
คณะกรรมการการเลือกตั้ง
(กกต.)
นับเป็นประเด็นที่ต้องให้ความสำคัญและหาทางออกร่วมกันว่า
กกต.
ควรมีที่มาและอำนาจหน้าที่อย่างไรจึงจะเหมาะสม
เพื่อให้กระบวนการเข้าสู่อำนาจทางการเมืองของนักการเมืองเกิดความบริสุทธิ์และเที่ยงธรรมมากที่สุด...>> |
|
ไม่ถึง 5
หมื่น
ควรมีส่วนร่วมตาม
รธน. ได้
(Legal
proceedings
under
the
Constitution
take
less
than
50,000
participants)
23
กุมภาพันธ์
2550
รัฐธรรมนูญฉบับ
2540
ได้เปิดโอกาสให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคนมีส่วนร่วมทางการเมือง
ทางตรง
2
เรื่อง
อันได้แก่
การยื่นเสนอกฎหมาย
(มาตรา
170)
และการยื่นเสนอถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
(มาตรา
304)
อันเป็นการสร้างบรรทัดฐานใหม่ในสังคมไทย
...>> |
|
ถ้ายังคงเลือกตั้ง
ส.ว.
ต้องเปลี่ยนรูปแบบ
(Changes
will be
necessary
if
Senator
elections
are to
be
continue)
22
กุมภาพันธ์
2550
หากยังคงให้วุฒิสมาชิกมาจากการเลือกตั้ง
รูปแบบการเลือกตั้งวุฒิสมาชิก
ตามรัฐธรรมนูญ
2540
ต้องมีการเปลี่ยนแปลง
เพราะไม่ได้สะท้อนความเป็นตัวแทนประชาชนที่แท้จริง...>> |
|
เงินหวยเพื่ออนาคต
19
กุมภาพันธ์
2550
ท่าทีของรัฐบาลในการนำร่าง
แก้ไข
พ.ร.บ.สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล
พ.ศ.2517
กลับมาพิจารณาอีกครั้งภายหลังจากที่คณะกรรมการกฤษฎีกา
ยืนยันว่า
ร่างดังกล่าวที่จะให้ออกหวย
2 ตัว 3
ตัวนั้น
ไม่ได้เป็นการล้างมลทินให้กับรัฐบาลชุดที่ผ่านมา
การเตรียมเรื่องเพื่อให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติพิจารณาต่อนั้นได้เกิดเสียงสะท้อนถึงความกังวลใจจากหลายฝ่าย
...>> |
|
เหตุผลที่
ปาร์ตี้ลิสต์
ควรมีต่อไป
(Why
party
list
politics
should
continue)
18
กุมภาพันธ์
2550
ประเด็นสำคัญในการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ประการหนึ่ง
ได้แก่
ข้อถกเถียงเกี่ยวกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ
(party
list)
ยังควรมีและจำเป็นต่อสังคมการเมืองไทยต่อไปอีกหรือไม่?...>> |
|
จะแก้ปัญหาการผูกขาดจากการจดสิทธิบัตรอย่างไร
( How to
solve
monopoly
problem
due to
patent
right
protection?
)
16
กุมภาพันธ์
2550
การที่กระทรวงสาธารณสุขแสดงความกล้าหาญประกาศบังคับใช้สิทธิกับยาที่ติดสิทธิบัตร
2 รายการ
ให้สามารถผลิตหรือนำเข้ายาเลียนแบบจากประเทศที่สาม
ตามมาตรการบังคับใช้สิทธิ
หรือ
compulsory
licensing
(CL)
ภายใต้พระราชบัญญัติสิทธิบัตร
โดยให้เหตุผลว่า
ราคาจำหน่ายยามีราคาแพง
ทำให้ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่สามารถเข้าถึงยาดังกล่าวได้
...>> |
|
ควรที่ผู้คิดค้นนวัตกรรมควรผูกขาดเพียงผู้เดียวหรือไม่
(Should
the
first
innovator
take all?)
15
กุมภาพันธ์
2550
จดหมายข่าวฉบับที่ผ่านมา
ผมได้นำเสนอแนวคิดในการแก้ปัญหาการผูกขาดทางการค้าจากการจดสิทธิบัตร
คือ
การทำให้นวัตกรรมเป็นสินค้าสาธารณะ
และให้รัฐบาลเข้ามาแทรกแซงเพื่อชดเชยให้กับผู้ที่คิดค้นนวัตกรรม
โดยรัฐจ่ายเงินให้กับผู้ที่สามารถคิดค้นนวัตกรรมได้
แล้วขายหรือให้สิทธิในการผลิตแก่ภาคเอกชนหลายราย
เพื่อทำให้เกิดการแข่งขันกันผลิตสินค้า
หรือการอนุญาตให้มีการแข่งขันผลิตสินค้าเลียนแบบนวัตกรรมได้อย่างเสรี
แต่รัฐบาลจะต้องมีส่วนเข้ามาแทรกแซงผ่านการเก็บภาษีพิเศษจากผู้ผลิตที่ผลิตสินค้าเลียนแบบ
...>> |
|
ทำอย่างไรได้
ส.ส.
สะท้อนเสียงประชาชน
How the
members
of
parliament
refiect
the
proples
vioce
14
กุมภาพันธ์
2550
รัฐธรรมนูญปี
พ.ศ.
2540
ได้ก่อเกิดผลหลายประการต่อการพัฒนาประชาธิปไตยของประเทศ
ทั้งมิติการเป็นตัวแทนของประชาชน
ความเท่าเทียม
และเสถียรภาพของรัฐบาล
ซึ่งมีความสำคัญต่อการพัฒนาประชาธิปไตยของประเทศในระยะยาว
...>> |
|
การยกร่างรัฐธรรมนูญแบบ
Reality
Show
(Reality
Show on
Constitution
Amendment)
12
กุมภาพันธ์
2550
ภายใน
6
เดือนข้างหน้านับจากนี้
จะเป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของสังคมการเมืองไทย
เนื่องจากเรากำลังยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
(กมธ.ยกร่างฯ)
จำนวน
35
คน
โดยเมื่อจัดทำร่างรัฐธรรมนูญเสร็จแล้วจะเผยแพร่ให้ประชาชนทราบ
และจัดให้มีการออกเสียงประชามติว่าจะให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบต่อร่างรัฐธรรมนูญทั้งฉบับ
...>> |
|
The Reality-Show Style
of Constitutional
Drafting
9
February 2007
The next six months from
now will be a crossroad
for Thai politics and
society as a 35-member
Constitutional Drafting
Committee prepares the
constitutional draft,
which will be made known
to the public upon its
completion. After that,
a referendum will be
held for the public to
approve or disapprove
the document. ...>> |
|
ไทยรักไทย
ฟ้อง
เกรียงศักดิ์
ไร้มูล
ศาลยกฟ้อง
No
grounds
for Thai
Rak Thai
prosecution:
Thailands
law
courts
justify
Kriengsak
27
ธันวาคม 2549
เมื่อเดือนเมษายน
2549
พรรคไทยรักไทยและ
น.ต.
ศิธา
ทิวารี
ได้ฟ้องผมในข้อหาหมิ่นประมาท
อ้างว่าข้อความที่ผมแถลงข่าวเมื่อวันที่
31
มีนาคม พ.ศ.2549
ซึ่งได้กล่าวถึงแนวทางการหาเสียงของพรรคไทยรักไทยว่า
หลายเรื่องเป็นเรื่องโกหกและทำไม่ได้จริง
ข้อความเหล่านี้ศาลเห็นว่า
เป็นการติชมด้วยความเป็นธรรมอันเป็นวิสัยของประชาชนย่อมกระทำได้
จึงมีคำสั่งยกฟ้องในวันที่
26
ธันวาคม
2549...>> |
|
The
drafting process of the
new Constitution
8 December 2006
Thailand
will soon have a new
Constitution. Heres the
process: the National
Assemblys 2,000 members,
who are from various
professions, will elect
200 representatives from
among themselves. And from
these 200 representatives,
the National Security
Council will select a
hundred of them to be
members of the
Constitutional Drafting
Council.
...>> |
|
ขอโอกาสบอร์ดรัฐวิสาหกิจพิสูจน์ฝีมือ
Give the new stale enterprise board the chance to prove themselves
16
พฤศจิกายน 2549
จากการตอบข้อซักถามของ พล.อ.สุรยุทธ์
จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี
ถึงการแต่งตั้งทหารเข้ามาเป็นบอร์ดของรัฐวิสาหกิจจำนวนมากว่า
การให้ทหารเข้าไปเป็นบอร์ด ไม่ได้เป็นการให้รางวัลหรือเป็นการตอบแทน
แต่พิจารณาจากคุณสมบัติที่เป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ
และแก้ปัญหาขององค์กรได้
ซึ่งขอเวลาให้บุคคลเหล่านั้นทำงานก่อนเพื่อเป็นการพิสูจน์ตัวเอง...>> |
|
สภาร่างรัฐธรรมนูญควรเป็นอย่างไร
How
should
Constitution
Drafting
Assembly
be?
1
พฤศจิกายน 2549
จากกระบวนการได้มาซึ่งสภาร่างรัฐธรรมนูญ
หลังจากได้สมัชชาแห่งชาติจำนวน
2,000
คนแล้ว
จะเลือกกันเองให้เหลือ
200
คน
และขั้นตอนสุดท้ายคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ
(คมช.)
จะทำการคัดเลือกให้เหลือ
100
คน
เพื่อเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ
และแต่งตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญขึ้นจำนวน
35
คน ซึ่ง
25
คนมาจากสภาร่างรัฐธรรมนูญคัดเลือกกันเอง
ขณะที่
10
คนมาจากคำแนะนำของประธานคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ
...>> |
|
สภานิติบัญญัติแห่งชาติบทพิสูจน์ตัวเอง
Legislative Assembly
Must Proof Itself
27
ตุลาคม 2549
ก่อนหน้าการเลือกตั้งประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
มีข่าวปรากฏหนาหูทางสื่อมวลชนทุกสำนักว่ามีการล็อบบี้และล็อกโผไว้เรียบร้อยแล้ว
แม้ใครจะเป็นคู่แข่ง
แม้ใครจะทักท้วงประการใดก็ไร้ความหมาย
อีกทั้งมีการตั้งข้อสังเกตว่า
การล็อกตำแหน่งประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาตินั้นเพื่อให้มีผลต่อการร่างรัฐธรรมนูญให้มีการสืบทอดอำนาจแบบเดียวกับคณะรสช
...>> |
|
กระบวนการในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
New Constitutional
Drafting Procedure
26
ตุลาคม 2549
มีความพยายามที่ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนของสังคมไทยได้รับเลือกและเข้ามาทำหน้าที่ในสมัชชาแห่งชาติ
โดยสมัชชาแห่งชาติ
จำนวนไม่เกิน
2000 คน
มาจาก 8
ประเภท
คือ
ตัวแทนภาคเศรษฐกิจและสังคม
767
คน
ตัวแทนภาครัฐ 318
คน
ตัวแทนภาคการเมืองและการปกครองท้องถิ่น
227
คน
ผู้แทนองค์องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
16
คน
ผู้ทรงคุณวุฒิ 302
คน
นิสิตนักศึกษา 140
คน
คณะรัฐมนตรีสรรหา
115 คน
และคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติสรรหา
115
คน
...>> |
|
จะทำอย่างไรให้ต่างชาติลดกังวลกฎอัยการศึก
How to make foreign
countries less anxious
about the Martial Law
17
ตุลาคม 2549
เอกอัครทูตสหรัฐและสหภาพยุโรปออกมาเรียกร้องให้คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ
(คมช.)
ยกเลิกกฎอัยการศึกโดยเร็ว
และเสนอให้เร่งจัดการเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตย
เนื่องจากห่วงว่าหากยังไม่รีบยกเลิกกฎอัยการศึกและเร่งคืนประชาธิปไตยให้ประชาชน
จะมีผลกระทบต่อภาพพจน์ของประเทศไทย
...>> |
|
ติดอาวุธการมีส่วนร่วมให้ประชาชนในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
Reform the civil
participation in the new
constitution
10
ตุลาคม 2549
สิ่งที่สังคมเฝ้าจับตามองขณะนี้คือ
การได้มาซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
ซึ่งหลายฝ่ายเชื่อว่าจะใช้เวลาไม่นานในการจัดทำให้แล้วเสร็จ
ความคาดหวังของประชาชนต่อรัฐธรรมนูญนี้
คือ
การคงไว้เรื่องสิทธิเสรีภาพ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามาแสดงความคิดเห็นมากขึ้น ...>> |
|
ความท้าทายที่รัฐบาลใหม่ต้องเผชิญ
Challenges
that the
new
government
will
face
9
ตุลาคม 2549
สถานการณ์การเมืองและเศรษฐกิจไทยในปัจจุบันได้คลี่คลายไปในทางที่ดีขึ้น
หลังจากได้นายกรัฐมนตรีคนใหม่ที่สังคมให้การยอมรับว่ามีความซื่อสัตย์สุจริต
และทีมเศรษฐกิจที่มีความรู้ความสามารถ ...>> |
|
ภารกิจของรัฐบาลชุดใหม่
The new
governments
mission
6
ตุลาคม 2549
นับจากนี้ประเทศไทยกำลังจะมีรัฐบาลชุดใหม่ภายใต้การนำของพลเอกสุรยุทธ์
จุลานนท์
นายกรัฐมนตรี
โดยมีระยะเวลาในการบริหารประเทศประมาณ
1
ปี
หลังจากนั้นจึงจะมีการเลือกตั้งทั่วไปภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่
...>> |
|
Democracy : A means or
an end?
3
October 2006
During the past week or
so, the international
community has denounced
Thailands September 19
coup d état. The
European Union condemned
it, while Kofi Annnand,
UN Secretary-General,
said the coup should not
be sanctioned. Tony Snow,
White House Spokesman,
declared US
disappointment and
entreated the military
to call a general
election as soon as
possible. Without
exception, global
leaders have held the
coup to be evil and
democratically
unacceptable.
...>> |
|
ประชาธิปไตยไทย วิธีการ
ไม่ใช่ เป้าหมาย
Thailand Democracy: A
means not an end
29 กันยายน
2549
หลังจากที่คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ได้ล้มรัฐบาลนายกรัฐมนตรี
ทักษิณ ชินวัตร
เมื่อวันที่
19
กันยายนที่ผ่านมา
สิ่งที่เกิดขึ้นตามมาแทบจะทันที
นั่นคือ ปฏิกริยาของประชาคมโลกต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมักมีแนวโน้มไปในทิศทางไม่เห็นด้วย
เพราะเห็นว่าการกระทำ
เช่นนี้
เป็นการทำลายระบอบประชาธิปไตย
อาทิ สหภาพยุโรป
ได้ออกแถลงการณ์ประณาม
...>> |
|
ตรวจสอบนอมินีกุหลาบแก้ว
ทำตามกฎหมายหรือนโยบาย?
Nominee Examinations: By
Law or Policy?
27
กันยายน
2549
ชะลอการตรวจสอบนอมินีอาจผิดหลักการ
เพราะเป็นเรื่องของกฎหมาย
ไม่ใช่นโยบายที่ต้องเปลี่ยนเมื่อเปลี่ยนรัฐบาล
และกฎหมายธุรกิจคนต่างด้าวคณะปฏิรูปฯมิได้สั่งให้ถูกยกเลิกไปพร้อมกับรัฐธรรมนูญ...>> |
|
ลืมแล้วหรือที่เคยพูดว่า
ยูเอ็นไม่ใช่พ่อ
Words so quickly
forgotten? : The UN is
not my father
26
กันยายน
2549
การแสดงท่าทีต่อสื่อต่างประเทศของอดีตรักษาการนายกฯ
ว่า
อยากเห็นสหประชาชาติเข้ามาจัดการการเลือกตั้งในประเทศไทยนั้น
ถือว่าเป็นการบั่นทอนภาพพจน์ของประเทศ
และกำลังทำให้ต่างประเทศไม่เชื่อมั่นในอำนาจอธิปไตยของไทย
...>> |
|
ทิศทางต่อไปของสังคมการเมืองไทย
Future Trends in Thai
Politics
25
กันยายน
2549
วันที่
19
ก.ย.
2549
เป็นวันที่ต้องจารึกไว้ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย
เมื่อคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ได้เข้ายึดอำนาจการปกครองประเทศ
และได้ประกาศต่อสาธารณชนว่าจะร่างธรรมนูญการปกครองชั่วคราวและสรรหานายกรัฐมนตรีคนใหม่เข้ามาบริหารประเทศภายใน
2
สัปดาห์นี้
และจะจัดตั้งสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
เพื่อจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ภายในระยะเวลา
1
ปี
...>> |
|
วอนรัฐบาลอย่าเตะถ่วงเอาโทษนอมินี
Pleading with the
Government: Dont Be
Slow to Prosecute
Nominees
14
กันยายน
2549
จากที่กรมการขนส่งทางอากาศ
แจ้งความดำเนินคดีกับสายการบินไทยแอร์เอเชีย
ที่กระทำผิดกรณีนำเครื่องบินใหม่
9 ลำ
มาบินก่อนที่จะแก้ไขการจดทะเบียนให้ถูกต้อง
ก่อนวันที่ 14
กุมภาพันธ์ 2549
ตลอดจนความเคลื่อนไหวของ
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
ที่เข้าไปตรวจสอบการถือหุ้นของบริษัทกุหลาบแก้วในบริษัท
ชินคอร์ปอเรชั่น จำกัด
(มหาชน) พบว่า
โครงสร้างผู้ถือหุ้นอาจเข้าข่ายคนไทยถือหุ้นแทนคนต่างด้าว
หรือนอมินี ซึ่งเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว
พ.ศ.2542
นั้น
ถือเป็นตัวอย่างที่ดีของความพยายามเอาผิดกับผู้ที่กระทำฝ่าฝืนกฎหมาย...
>> |
|
นัยทางการเมืองของโครงการ
บ้านหลังแรก
The Political
Implications of the
First House Project
11
กันยายน
2549
กระทรวงการคลังมีแนวคิดผลักดันโครงการ
บ้านหลังแรก
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือคนรุ่นใหม่ที่เพิ่งจบการศึกษา
และมีเงินเดือนไม่เกิน
2
หมื่นบาท
ได้เป็นเจ้าของบ้านหลังแรกในชีวิตราคาไม่เกิน
1
ล้านบาท
โดยให้กู้เงินอัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ
5
ต่อปี
เป็นเวลา15
ปี
ซึ่งรัฐบาลจะแบกภาระดอกเบี้ยส่วนต่างจากนี้เอง...
>> |
|
นายกฯ ควรเป็นได้ไม่เกิน
2 สมัย ?
The Prime Ministers
Tenure Should Be No
Longer than Two Terms?
10
กันยายน
2549
เมื่อวันที่ 3
ก.ย.ที่ผ่านมา
สถาบันสัญญาธรรมศักดิ์เพื่อประชาธิปไตย
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
(มธ.)
สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย
สมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย
ฯลฯ
ร่วมกันจัดโครงการปาฐกถาสาธารณะขึ้น
ที่ มธ.
ท่าพระจันทร์
โดยเชิญนักการเมือง
นักวิชาการ
และประชาชนเข้าร่วมงานในครั้งนี้...
>> |
|
ผูกขาดเนื้อหาสื่อ :
กลยุทธ์เอาเปรียบประชาชน
Media Communication : To
Monopolize It, Takes
Advantage
6
กันยายน
2549
ปรากฏการณ์ของการใช้สื่อในช่วงเลือกตั้งได้รับความสนใจจากหลายฝ่าย
และที่ผ่านมามีการเปิดเผยถึงพฤติกรรมการใช้สื่อเพื่อสร้างคะแนนนิยมของพรรคการเมืองอยู่เป็นเนืองๆ
ล่าสุดสำนักวิจัยเอเบคโพล
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
เก็บรวบรวมข้อมูลในช่วงเวลาของการแข่งขันเพื่อชนะการเลือกตั้ง
เรื่อง สงครามแย่งชิงเวลาดีของสื่อโทรทัศน์ในการนำเสนอข่าวภาคค่ำและเช้าในกลุ่มพรรคการเมืองต่างๆที่ดำเนินการมาแล้ว2ครั้ง
...
>> |
|
ให้ผู้เชี่ยวชาญร่วมตรวจสอบคดีวางระเบิด
ขัดต่อกฎหมายหรือไม่
Experts to Examine for
PM. Car Bomb, but Is It
Legal?
2
กันยายน
2549
กรณีที่
นายจตุพร พรหมพันธุ์
รองโฆษกพรรคไทยรักไทยที่กล่าวพาดพิงถึงผมว่า
ข้อเสนอของผมที่เสนอให้เปิดโอกาสให้ผู้เชี่ยวชาญด้านระเบิดจากหลายฝ่ายเข้ามาร่วมตรวจสอบข้อเท็จจริงในคดีลอบวางระเบิดนั้น
ทำไม่ได้ตามกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของไทย
และกล่าวหาว่า อย่าเอาความไม่ชอบนายกฯมาทำลายกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทย
รองโฆษก
ทรท.ยังกล่าวพาดพิงถึงพรรคประชาธิปัตย์ว่า
ทำไมต้องมาเดือดเนื้อร้อนใจกับคดีนี้มาก
แต่คดีระเบิดพรรคตัวเองกลับนิ่งเฉย
ผมจึงขออนุญาตมิตรสหายอธิบายประเด็นดังกล่าวดังนี้ ...
>> |
|
วอนรัฐบาลใหม่ทบทวนแนวทางรายการ
นายกฯ คุยกับประชาชน
Pleading with the New
Government to Review
The PM Talks to the
People Radio Show
31
สิงหาคม 2549
จากการทำเสนอวิทยานิพนธ์ดีเด่นของนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เรื่อง
การแปลงสิทธิอำนาจเป็นอำนาจ
ผ่านรายการวิทยุนายกฯ
ทักษิณคุยกับประชาชน
ศึกษากรณี :
วิกฤตการณ์รุนแรงในพื้นที่
3
จังหวัดชายแดนภาคใต้
โดยผลการศึกษาส่วนหนึ่งสะท้อนการใช้เครื่องมือประชาสัมพันธ์ผลงานของรัฐบาลมากกว่าการสร้างความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นในประเทศ ...
>> |
|
วอนสอบสวนเหตุวางระเบิดอย่างรอบคอบ
Take care when
investigating concealed
explosives
28
สิงหาคม 2549
สถานการณ์ที่ฝ่ายรัฐบาลและตำรวจสรุปว่า
เป็นการลอบวางระเบิดสังหารรักษาการนายกฯ
ได้กลบกระแสข่าวร้อนในช่วงต้นสัปดาห์อย่างหมดสิ้น
พร้อมคำวิพากษ์วิจารณ์ว่าเหตุการณ์การลอบวางระเบิดดังกล่าวว่าอาจเป็นการจัดฉากเพื่อวัตถุประสงค์บางประการ
อาทิ
เพื่อกลบข่าวม็อบสยามพารากอน
และเซ็นทรัลเวิรลด์
เพื่อลดความน่าเชื่อถือของผู้มีบารมีบางท่านในสังคมรวมถึงอาจเพื่อฉวยโอกาสประกาศ
พ.ร.บ.สถานการณ์ฉุกเฉิน
ฯลฯ ...
>> |
|
บัตรสมาร์ทการ์ด . .
นัยยะแอบแฝง
Smart Cards
The Hidden
Agenda
27
สิงหาคม 2549
โครงการจัดทำบัตรประชาชนแบบเอนกประสงค์(Smart
Card)
ที่รัฐบาลได้มอบหมายให้กรมการปกครองดำเนินการ
โดยจัดทำแผนเร่งรัดการจัดทำบัตร
ระดมสรรพกำลังจากจังหวัดและกรุงเทพมหานคร
รวมทั้งนายอำเภอและทะเบียนท้องถิ่นให้บริการประชาชนอย่างเต็มที่
ขยายเวลาการให้บริการ
ไม่หยุดพักเที่ยง
เปิดให้บริการวันเสาร์
และในบางจังหวัดได้เปิดให้บริการในห้างสรรพสินค้าอีกทางหนึ่ง
หลังจากได้มีพระราชกฤษฎีกาแก้ไขเพิ่มเติมกำหนดวันเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฏรในวันที่
15
ตุลาคม
2549
...
>> |
|
จุดเริ่มต้นของความแตกแยกในสังคม
Where Social Disunity
First Begins
26
สิงหาคม 2549
ในช่วงที่ผ่านมาจะพบว่ามีการรวมกลุ่มกันของกลุ่มบุคคลที่เชียร์
พ.ต.ท.ทักษิณ
ชินวัตร
และกลุ่มบุคคลที่ต่อต้าน
แต่ที่ผ่านมายังไม่มีเหตุการณ์ใดมีการใช้ความรุนแรงจากทั้ง
2
กลุ่ม
จนกระทั่งเหตุการณ์ในช่วง
2-3
วันที่ผ่านมาไม่ว่าจะเป็นเหตุการณ์ที่ห้างสรรพสินค้าสยามพารากอนหรือเหตุการณ์ล่าสุดที่ห้างสรรพสินค้า
เซ็นทรัลเวิลด์
ซึ่งผมได้วิเคราะห์ไว้ว่าเป็นความพยายามหาเสียงของพ.ต.ท.ทักษิณแล้ว
ผมยังมองอีกมุมว่าเป็นเหตุการณ์ที่ไม่ธรรมดาเพราะเริ่มมีการปะทะกันของกลุ่มที่เชียร์กับกลุ่มที่ไล่
...
>> |
|
อย่ารีบด่วนสรุป
An unhurried conclusion
23
สิงหาคม 2549
ผ่านพ้นไปแล้วกับการแสดงวิสัยทัศน์ในเรื่องการบริหารจัดการเลือกตั้งและการให้ใบเหลืองใบแดงของผู้ได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการการเลือกตั้ง
(กกต.)
ทั้ง 10
คน
ซึ่งทำให้เรารู้ว่าแต่ละคนมีแนวทางที่จะบริหารจัดการเลือกตั้งอย่างไรให้มีความสุจริตและเที่ยงธรรม
และแนวทางในการให้ใบเหลืองในแดงแก่ผู้สมัครรับเลือกตั้ง...
>> |
|
รักษาการนายกฯ
ทิ้งทวนในรายการนายกทักษิณพบประชาชน
A farewell performance:
PM broadcasts final "PM
meets the people" radio
program
22
สิงหาคม 2549
เมื่อวันเสาร์ที่
19
สิงหาคม
ที่ผ่านมา
หากใครได้ฟังรายการนายกทักษิณพบประชาชน
ที่ใช้งบประมาณของประชาชนทั้งประเทศเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดรายการผ่านทางสถานีวิทยุของกรมประชาสัมพันธ์
จะพบว่ารักษาการนายกฯ
ใช้รายการนี้อย่างเกิดประโยชน์อย่างแท้จริง
แต่ไม่แน่ใจว่าเป็นประโยชน์สูงสุดต่อประเทศหรือประโยชน์ทางการเมือง
ผมจึงอดไม่ได้ที่จะฝากถึงคณะกรรมการการเลือกตั้ง
(กกต.)
ชุดใหม่ที่กำลังจะมีขึ้น
ให้ช่วยเข้ามาตรวจสอบพฤติกรรมดังกล่าวว่ามีความเหมาะสมหรือไม่...
>> |
|
ผลกระทบของระบบการเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญใหม่
"The Effect of an
Election by New Thai
Constitution"
21
สิงหาคม 2549
จากงานศึกษาของผม เรื่อง
ผลกระทบของระบบการเลือกตั้งแบบใหม่ตามรัฐธรรมนูญปี
พ.ศ.
2540
ที่มีต่อการพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศไทย
ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อพิจารณาประเด็นที่เป็นเป้าหมายของการปฏิรูปการเมืองใน
3
มิติ
ได้แก่
มิติการเป็นตัวแทนของประชาชน
มิติความเท่าเทียม
และมิติเสถียรภาพของรัฐบาล
อันเป็นประเด็นสำคัญที่ส่งผลต่อการพัฒนาประชาธิปไตยที่มั่นคงในระยะยาว
และนำไปสู่การค้นหาระบบการเลือกตั้งที่พึงประสงค์ของประเทศ...
>> |
|
อภิสิทธิ์
ผู้ไม่ใช้
อภิสิทธิ์
ประชาชนต้องมาก่อน
Apisit: Putting people
first
13
สิงหาคม 2549
ในช่วงนี้
เราคงเห็นภาพการเคลื่อนไหวของพรรคประชาธิปัตย์
มุ่งให้ประชาชนรับรู้ถึงการเป็นผู้นำพรรคของหัวหน้าอภิสิทธิ์
เวชชาชีวะ
คนหนุ่มรุ่นใหม่ มือสะอาด
มีความมุ่งมั่นตั้งใจจริง
มีความพร้อมในการเข้ามาบริหารประเทศ
และการนำเสนอวาระประชาชนด้านต่าง
ๆ ที่ไม่ใช่ประชานิยม
ไม่ใช่การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
แต่มีหลักคิดเพื่อสร้างความเข้มแข็งและความอยู่ดีมีสุขของประชาชนอย่างยั่งยืน
...
>> |
|
The Selection of new
Election Commissioners
Must be Carried Out with
National Interest in
Mind
11
August
2006
The
verdict of the Criminal
Court which sentenced
all three Election
Commissioners to four
years in prison and
revoked their right to
vote for 10 years,
including the Supreme
Courts earlier decision
not to grant them bail,
finally resulted in the
Commissioners
...
>> |
|
นายกแก้จนแบบผักชีโรยหน้า
Quick fixes for poverty:
The PM's slapdash social
policies
10
สิงหาคม 2549
การลงพื้นที่อีสาน
7-9 ส.ค.
ของรักษาการนายกรัฐมนตรี
ตอกย้ำความกลวงของการแก้จน
สร้างภาพโดยเลือกลงพื้นที่จนน้อย
เพราะวัตถุประสงค์เพื่อหาเสียงมิใช่ติดตามผลนโยบายจริง
ชี้นายกฯ อ้างคนจนลดลง
แต่ตัวเลขสหประชาชาติฟ้องว่าไทยไม่ได้ดีขึ้น
...
>> |
|
วอนรักษาการนายกฯ
เร่งชี้แจงเหตุผลไปพม่า
Popularity
driven
state
visit :
Our
caretaker
PM
visits
Burma
7
สิงหาคม 2549
การเดินทางไปยังสหภาพพม่าของรักษาการนายกฯ
และคณะ
ในวันที่
2
สิงหาคมที่ผ่านมา
โดยรักษาการนายกฯ
ได้ให้สัมภาษณ์ก่อนขึ้นเครื่องบินถึงประเด็นการไปเยือนพม่าว่า
ประเด็นการหารือจะครอบคลุมทุกเรื่อง
สำหรับรูปแบบการเจรจาเป็นการเจรจาในระดับผู้นำ
เพื่อปรึกษาหารือทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคี
ตามกำหนดการที่ผู้นำของไทยและพม่าได้หารือและวางแผนไว้ล่วงหน้า
ตามโอกาสและเวลาที่ทั้งสองฝ่ายสะดวกร่วมกัน
...
>> |
|
กกต.ชุดใหม่ควรมีคุณสมบัติอย่างไร
What qualifications
should the new ECT have?
5
สิงหาคม 2549
เป็นที่ถูกจับตาอย่างยิ่งว่า
คณะกรรมการการเลือกตั้ง
(กกต.)
ชุดใหม่จะเป็นใคร
ที่จะเข้ามาจัดการเลือกตั้งทั้งการเลือกตั้งในระดับชาติและการเลือกตั้งในระดับท้องถิ่นอย่างสุจริตและเที่ยงธรรม
ตลอดจนเข้ามาบริหารองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด
อันจะส่งผลดีต่อการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย...
>> |
|
ข้าราชการพันธุ์ใหม่
ต้องพันธุ์ใหม่ทั้งทีม
A new
government
official
: A new
team
4
สิงหาคม 2549
ในรายการนายกฯ
ทักษิณคุยกับประชาชน
เมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา
(29
กรกฎาคม
2549)
เรื่องหนึ่งที่นายกรัฐมนตรี
พ.ต.ท.
ทักษิณ
ชินวัตร
นำมากล่าวคือเรื่อง
การคัดเลือกข้าราชการเข้าระบบข้าราชการประเภทที่เรียกว่ามีผลสัมฤทธิ์สูง
(High
Performance
and
Potential
System :
HIPPS)
หรือเรียกว่า
ข้าราชการพันธุ์ใหม่
โดยมีแนวคิดให้ข้าราชการที่มีความสามารถ...
>> |
|
|