Go www.kriengsak.com ประวัติ ครอบครัว งานวิชาการ กิจกรรม Press Contact us ค้นหา
 
  ขอคิดอย่างสร้างสรรค์

หน้า 1 | 2 | 3 |

หมวดเศรษฐกิจ
หมวดการเมืองไทย/ต่างประเทศ

หมวดสังคม
หมวดการศึกษา
บทบาทของภาคประชาชน
The Role of the Civil Sector

29 พฤษภาคม 2549
เมื่อวันที่ 23 ..ที่ผ่านมา ผมมีโอกาสได้เข้าร่วมการเสวนาภาคประชาชนเรื่อง “สาวไส้ กกต จัดโดย สถาบันสหัสวรรษ ร่วมกับเครือข่ายจุฬาฯ ที่อาคารประชาธิปก-รำไพพรรณี คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีประชาชนและสื่อมวลชนเข้ารับฟังเป็นจำนวนมาก ในช่วงท้ายของการเสวนา ผมมีโอกาสได้เสนอความคิดเห็นบางประการเกี่ยวกับบทบาทของภาคประชาชนว่าควรทำอย่างไรบ้างท่ามกลางสภาพการเมืองในปัจจุบัน อันจะส่งผลทำให้สังคมการเมืองไทยดีขึ้น   >>
ไอทีวี… ละครฉากใหญ่ที่เปิดเผยธาตุแท้รัฐบาล
ITV….A Big  Drama  to Reveal the Real Government

10 พฤษภาคม 2549
สืบเนื่องจากการที่สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) ร้องต่อศาลปกครองในกรณีสัมปทานไอทีวี  ศาลปกครอง (9 พฤษภาคม 2549) ได้มีคำสั่งเพิกถอนคำตัดสินอนุญาโตตุลาการเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2547 กรณีให้ บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) จ่ายค่าสัมปทานปีละ 230 ล้านบาท จากที่ต้องจ่ายปีละ 1,000 ล้านบาท รวมทั้งเพิกถอนคำตัดสินที่ให้ไอทีวีปรับลดสัดส่วนนำเสนอรายการข่าวสารสาระต่อรายการบันเทิง จากเดิม 70:30 เป็น 50:50    >>
ปตท.ไม่จริงใจในการช่วยเหลือประชาชน
(PTT was not sincere in helping the people)

6 พฤษภาคม 2549
จากการที่ ปตท.ได้ให้เหตุผลในการปรับราคาน้ำมันขึ้นในวันที่ 5 พฤษภาคม 2549 ว่า การที่ ปตท.ชะลอการปรับราคาน้ำมันส่งผลให้มีประชาชนเข้ามาใช้บริการเพิ่มขึ้นถึงเท่าตัว เนื่องจากราคาน้ำมันต่ำกว่าผู้ค้ารายอื่นถึง 90 สตางค์ต่อลิตร ส่งผลให้เกิดปัญหาในการจัดส่งน้ำมัน เพราะรถขนส่งน้ำมันวิ่งได้เฉพาะเวลากลางคืน ทำให้ปั๊มน้ำมันบางจุดไม่สามารถรองรับปริมาณความต้องการได้เพียงพอ จึงเกิด >>
วอนทักษิณกล้ารับผิด อย่าใช้รากหญ้าเป็นโล่ห์มนุษย์ (A plea for Taksin’s responsible actions)
27  มีนาคม 2549
ไม่มีข้อแก้ตัวอีกแล้วสำหรับ คุณทักษิณ ชินวัตร ที่จะดื้อด้านอยากเป็นนายกรัฐมนตรีอีกต่อไป ทั้ง ๆ ที่ตนเองหมดสิ้นแล้วซึ่งคุณธรรมความดีงามทั้งปวงในการดำรงตำแหน่งผู้นำสูงสุดของประเทศ ไม่ว่าจะเป็นพฤติกรรมการโกงกิน ทุจริตเชิงนโยบาย เอื้อประโยชน์ประเทศชาติให้พวกพ้อง
พฤติกรรมความกร่างในคำพูดที่จาบจ้วงต่อสถาบันเบื้องสูง และการตระบัตสัตย์ไม่รักษาคำพูดของตนในหลายต่อหลายครั้ง
>>

สอนวัยรุ่นปลูกรักอย่างถูกต้อง (Teaching teenagers to love correctly)
15 กุมภาพันธ์ 2549
ผลการวิจัยพฤติกรรมของวัยรุ่นในปัจจุบัน ของกระทรวงสาธารณสุขพบว่า นักเรียนระดับ ม.1- ม.6 ใน กทม. ร้อยละ 7.3 เคยผ่านการมีเพศสัมพันธ์มาแล้ว ช่วงอายุที่มีเพศสัมพันธ์เร็วขึ้นคืออยู่ระหว่าง 13-15 ปี เรื่องที่น่าห่วงใยอีกประการคือ ในวันวาเลนไทน์ปีที่ผ่านมาพบว่า วัยรุ่นร้อยละ 8 ตั้งใจมีเพศสัมพันธ์ในวันนั้น โดยเห็นว่าเป็นวันแสดงออกการมอบรักและมีเพศสัมพันธ์กัน จึงอาจเป็นไปได้ว่า วันวาเลนไทน์ในปีนี้อาจมีวัยรุ่นจำนวนไม่น้อยที่ยอมเสียตัวเพื่อแสดงความรักต่อกัน >>

 
เรียลลิตี้โชว์แก้จน สอนคนให้เห็นเงินเป็นพระเจ้า (Reality Show)
22
มกราคม 2549
จากที่นายกฯ ได้ลงพื้นที่แก้ไขปัญหาความยากจนที่อำเภออาจสามารถ จ.ร้อยเอ็ด โดยมีสถานีโทรทัศน์เคเบิ้ลทีวีเป็นผู้ถ่ายทอดสดตลอด 5 วัน 5 คืน ตั้งแต่วันที่ 16 –20 มกราคมที่ผ่านมา ผมได้ทำการเก็บตัวเลขกิจกรรมการแก้ปัญหาความยากจนของนายกรัฐมนตรี ผ่านรายการดังกล่าวตลอดระยะเวลา 5 วัน ซึ่งนายกฯ อ้างว่าเป็นการสอนการแก้ปัญหาความยากจนทางไกล แต่แท้ที่จริงเป็นการสอนให้คนเห็นเงินเป็นพระเจ้า >>
 
ความเป็นไปได้ในการขจัดความจนให้หมดไป (A Possibility to Eradicate Poverty)
15 มกราคม 2549
รัฐบาลกำหนดให้การแก้ไขปัญหาความยากจน เป็น 1 ใน 3 สงคราม ที่รัฐบาลประกาศจะกำจัด นอกเหนือจาก ปัญหายาเสพติด และคอร์รัปชัน โดยนายกฯ ประกาศว่าจะทำให้คนจนหมดไปจากประเทศไทย ในช่วงเวลา 6 ปี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน ปี 2546  ดังนั้นเส้นตายคืออีกประมาณ 3 ปีครึ่งต่อจากนี้ การจะรักษาสัญญานี้ให้ได้ ถือว่าเป็นงานหนักอย่างยิ่งของรัฐบาล >>
 
ความเหลื่อมล้ำในสังคม แก้ได้ด้วยการฟังเสียงประชาชน
27 ธันวาคม 2548
เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจ (เอ็มโอยู) ร่วมกับธนาคารโลก หรือเวิลด์แบงก์ จัดทำโครงการความร่วมมือพัฒนาประเทศด้านการวิเคราะห์ ความยากจนและติดตามประเมินผล เพื่อเป็นโครงการเสริมสร้างศักยภาพในการแก้ไขปัญหาความยากจนของรัฐบาลและความร่วมมือทางด้านวิชาการ ฯลฯ
รัฐถลุงเงินประกันสังคม สร้างผลงานฉาบฉวย
25 ธันวาคม 2548
จากกรณีที่รัฐมนตรีว่าการประทรวงแรงงานฯ มีนโยบายให้สำนักงานประกันสังคม (สปส.) ทำโครงการเพิ่มมูลค่าเพิ่มบัตรประกันสังคม โดยให้ส่วนลดตั้งแต่ร้อยละ 10-50 กับผู้ประกันตน ในการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคจากร้านค้าหรือห้างสรรพสินค้า และเข้าพักในโรงแรม รวมทั้งสิ้นกว่า 5,000 แห่ง ระหว่างวันที่ 31 .. 2548 – 3..2549
 
ข้อคิดในการผลักดันร่างกฎหมายของภาคประชาชน
24 ธันวาคม 2548
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เป็นรัฐธรรมนูญที่สนับสนุนด้านสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคแก่ประชาชนเป็นสำคัญ ดังปรากฏในหลายมาตรา โดยเฉพาะการขยายการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเมืองการปกครอง (มาตรา 170 และ 303-304) ที่เปิดโอกาสให้ประชาชนผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง 50,000 คน สามารถเข้าชื่อเสนอกฎหมายที่เกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพ และแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐได้
 
น้ำท่วม-ภัยแล้ง วิกฤตที่สะท้อนรัฐบาลเป็นเพียงนักแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
23 ธันวาคม 2548
ปัญหาการขาดแคลนน้ำ ปัญหาน้ำท่วมซ้ำซาก รวมถึงดินถล่ม นับว่าเป็นปัญหาวิกฤตที่เกิดขึ้นทุกปี โดยที่รัฐบาลต้องเข้ามาแก้ไข และทุ่มงบประมาณแต่ละปีเป็นจำนวนมหาศาล เพื่อแก้ปัญหา แต่อย่างไรก็ดียังคงพบว่า การแก้ปัญหานั้น รัฐบาลมักแก้ปัญหาเฉพาะหน้าไปแต่ละปี โดยที่ไม่ได้มีแนวทางในเชิงป้องกัน หรือเตรียมความพร้อมในพื้นที่ที่ประสบปัญหาซ้ำซาก
 
รถไฟฟ้า 10 สาย : ข้อสงสัยในความโปร่งใสและความชอบธรรม
20 ธันวาคม 2548
จากการที่รัฐบาลจะดำเนินโครงการรถไฟฟ้า 10 สาย ด้วยวงเงิน 5.5 แสนล้านบาท โดยใช้วิธีการประมูลแบบเปิดกว้างให้ผู้ลงทุนต่างประเทศนำเสนอรูปแบบการก่อสร้าง รูปแบบการเดินรถ และเลือกเส้นทางที่เห็นว่าจะเกิดประโยชน์สูงสุดให้แก่ประชาชน โดยไม่มีการกำหนดทีโออาร์ที่ชัดเจน และคาดว่าจะเปิดประมูลและคัดเลือกผู้รับเหมาได้ในเดือนพฤษภาคม 2549
 
คนไทยจะได้อะไรจากกระแส outsourcing
17 ธันวาคม 2548
หนังสือ “The World is Flat” ของ Thomas Friedman ได้จุดประกายความคิดนี้จากการเดินทางของผู้เขียนไปทำข่าวที่เมือง Bangalore ประเทศอินเดีย และได้พบกับความก้าวหน้าในอุตสาหกรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) และพบว่าประเทศของเขาคือสหรัฐอเมริกา และประเทศที่เคยถือว่าด้อยพัฒนากำลังจะก้าวขึ้นมาเทียบชั้นกัน ...
 
แก้ปัญหาภาคใต้แบบ ‘อำนาจนิยม’ เพื่อ ‘ภาพลักษณ์’
16 ธันวาคม 2548
กรณีที่นายมะซอบือสิ เจาะแย ได้ร้องเรียนต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ถึงกรณีที่ตนถูกบีบบังคับจากอำเภอให้มาเข้าร่วมอบรมกล่อมเกลาจิตใจและร่วมสร้างสันติสุขในพื้นที่นั้น กรณีดังกล่าวทำให้เกิดการตั้งข้อสังเกตว่า ผู้บริหารกระทรวงมหาดไทยพยายามดำเนินกิจกรรมเพื่อสร้างภาพให้ตนเองมีผลงานหรือไม่..
 
กำหนดค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำอย่างไร..จึงจะเกิดประโยชน์สูงสุด ?
1 ธันวาคม 2548
จากที่คณะกรรมการค่าจ้างกลางมีมติเป็นเอกฉันท์ในการขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำอีกวันละ 1-5 บาทใน 36 จังหวัด ซึ่งจะมีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2549 นั้น เป็นเรื่องที่น่ายินดีสำหรับผู้ใช้แรงงานทุกท่าน อย่างไรก็ตามยังคงมีกระแสเรียกร้องขอความเป็นธรรมอยู่บ้างในบางจังหวัดที่ไม่ได้รับการพิจารณาให้ขึ้นค่าจ้าง
 
อะไร คือ เหตุผลเบื้องหลังสร้างนครสุวรรณภูมิ
14 พฤศจิกายน 2548
การที่รัฐบาลประกาศนโยบายพัฒนาพื้นที่บริเวณสนามบินสุวรรณภูมิ โดยเตรียมทุ่มงบฯ กว่า 5 แสนล้านบาท เพื่อพัฒนาพื้นที่โดยรอบให้เป็นเมืองทันสมัย และยกระดับเป็น “นครสุวรรณภูมิ” หรือ ”กรุงเทพแห่งที่ 2” โดยมีเป้าหมายเพื่อรองรับความเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจในอนาคต และคาดหวังว่านครสุวรรณภูมิจะเป็นศูนย์กลางระบบขนส่งและคลังสินค้า และแบ่งเบาความหนาแน่นในเมืองหลวง เมื่อพิจารณาเป้าหมายในการเนรมิตนครสุวรรณภูมินั้นน่าตื่นเต้น แต่เกิดคำถามตามมาอีกมากกับเป้าหมายดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็น
 
ยุทธการณ์ดับไฟใต้ อย่าให้เป็นนโยบายออกอากาศ
 11 พฤศจิกายน 2548
ผู้ช่วยรมต.กระทรวงมหาดไทยเสนอต่อที่ประชุมกระทรวงขณะนี้พื้นที่ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้มีปัญหาคนอพยพออกจากพื้นที่ไปมาก เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวควรนำวิธีการสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ อดีตนายกมาใช้ คืออพยพคนจากภาคอื่นๆ เช่น คนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ต้องการเดินทางลงไปทำกินในพื้นที่ 3 จังหวัดภาคใต้ และแบ่งสรรพื้นที่ทำกินที่มีอยู่จำนวนมากให้กับคนที่อพยพเข้าไปอยู่
 
“เท่าเทียมกัน” ไม่ได้หมายความว่า “เท่ากัน”
6 พฤศจิกายน 2548
จากคำพูดที่ตรงไปตรงมาของนายกฯ ที่ว่า “ผมตรงไปตรงมาไม่อ้อมค้อม จังหวัดไหนมอบความไว้วางใจให้เราต้องดูแลเป็นพิเศษ แต่เราต้องดูแลคนทั้งประเทศด้วย แต่เวลาจำกัด ต้องเอาเวลาไปจังหวัดที่เราได้รับความไว้วางใจมากเป็นพิเศษ จังหวัดที่ไว้วางใจเราน้อยต้องเอาไว้ทีหลัง ไม่ใช่ไม่ไป คิวต้องเรียงอย่างนี้ … ก็อยากเห็นคนทั้งประเทศไม่ว่าอยู่ที่ไหน เลือกหรือไม่เลือกผม ก็อยากให้ทุกคนหายจน แต่เนื่องจากเวลาจำกัดก็ต้องไล่ลำดับกันไป แต่เจ้าหน้าที่ก็ทำเหมือนกันหมดทั่วประเทศ”
..
 
ความเข้าใจผิดเรื่องรถไฟฟ้า (Misunderstanding about the BTS)
2 พฤศจิกายน 2548
ความเข้าใจผิด 3 ประการเกี่ยวกับโครงการก่อสร้างส่วนต่อขยายของรถไฟฟ้า ความคุ้มค่าของโครงการ รัฐเป็นผู้ดำเนินโครงการทั้งหมด และการกำหนดค่าโดยสาร 15 บาทตลอดสาย อาจทำให้ประชาชนเสียโอกาสในการได้รับประโยชน์จากโครงการ หรือทำให้เกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมในระยะยาว...
 
รัฐบาลเตะถ่วงความเจริญ…ส่วนต่อขยาย BTS (“The BTS”)
31 ตุลาคม 2548
การที่รัฐบาลอ้างการใช้นโยบายเก็บ 15 บาทตลอดสาย เป็นเหตุผลชะลอส่วนต่อขยายบีทีเอส เป็นการเน้นผิดประเด็น เพราะหากซื้อคืนบีทีเอสไม่ได้ เก็บ 15 บาทไม่ได้ ควรสร้างไปก่อนดีกว่ารออย่างไร้ความหวัง และเสนอเก็บค่าโดยสารแยกตามกลุ่มคน...
 
ระวังการระบาดไข้หวัดนกจากคนสู่คน
24 ตุลาคม 2548
เมื่อวันที่ 15 ตุลาคมที่ผ่านมา มีข่าวว่าองค์การอนามัยโลกระบุ เชื้อไข้หวัดนก H5N1 แพร่ถึงชายขอบทวีปยุโรป ซึ่งเป็นการเพิ่มโอกาสกลายพันธุ์เป็นโรคติดต่อร้ายแรงระหว่างคนสู่คนมากขึ้น เนื่องจากเป็นการที่เชื้อไวรัส H5N1 ที่เกิดการติดต่อขึ้นในพื้นที่ใหม่ๆ จึงเป็นเรื่องที่น่าห่วง แต่ทั้งนี้เรื่องดังกล่าวเป็นโอกาสให้มีการเร่งรัดงานในหลายๆ ประเทศ ในเรื่องการเตรียมพร้อมทางด้านการป้องกันสุขภาพของมนุษย์
 
เมืองใหม่สุวรรณภูมิ
22 ตุลาคม 2548
ที่ทำเนียบรัฐบาลเมื่อวันที่ 17 ต.ค. 2548 มีการประชุมเพื่อพิจารณา ร่าง พ.ร.บ. จัดตั้งองค์กรส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ (นครสุวรรณภูมิ) พ.ศ. …. โดยกำหนดพื้นให้ครอบคลุมพื้นที่ 2 จังหวัด คือ อ.บางพลี อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ และเขตประเวศ และเขตลาดกระบัง กทม.โดยจะทำให้เป็นเขตปกครองพิเศษ และเป็นจังหวัดที่ 77 ของประเทศ คาดว่าจะเสร็จในอีก 10 ปีข้างหน้า ใช้งบประมาณไม่ต่ำกว่า 4-5 แสนล้านบาท...
 
เพิ่มค่าทำคลอด-ทำฟัน เบี่ยงประเด็นหมกเม็ดใน สปส.
20
ตุลาคม 2548
ข่าวน่ายินดีสำหรับผู้ประกันตน คือสำนักงานประกันสังคม (สปส.) ได้ขยายสิทธิประโยชน์ตอบแทนแก่ผู้ประกันตนมากกว่าเดิม โดยเฉพาะการไม่จำกัดวงเงินค่าคลอดบุตรและค่าทันตกรรม
 
ความครบถ้วน เรื่องที่ควรตระหนักหากจะร่างกฎหมายเพื่อประชาชน
13
ตุลาคม 2548
ร่าง พ.ร.บ.ศาลภาษีอากร ยังต้องทบทวนในเรื่องความครบถ้วน ทั้งการพิจารณาคดีความแพ่งและอาญาในมาตราที่เกี่ยวข้อง ป้องกันความลักลั่นในการตีความ และเลือกปฏิบัติ
 
“สิทธิในการเลือกที่จะตาย” จุดเริ่มของการบิดเบือนคุณค่าชีวิตมนุษย์
2
ตุลาคม 2548
ในการแก้ไขสถานการณ์ภาคใต้ในเวลานี้ คำพูดของท่านนายกฯ หลายข้อความแสดงถึงอารมณ์โกรธต่อผู้ก่อความไม่สงบ ไม่ได้สะท้อนหลักเมตตาธรรมตามที่ท่านนายกฯ ได้ให้สัญญาว่าจะใช้ เห็นได้จากการพูดผ่านรายการนายกฯทักษิณคุยกับประชาชนเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2548 อาจยิ่งก่อให้เกิดความขัดแย้งและความไม่เข้าใจกันรุนแรงขึ้น
 
ดับไฟใต้…ระวังปลุกการกระแสชาตินิยม
1 ตุลาคม 2548
ในการแก้ไขสถานการณ์ภาคใต้ในเวลานี้ คำพูดของท่านนายกฯ หลายข้อความแสดงถึงอารมณ์โกรธต่อผู้ก่อความไม่สงบ ไม่ได้สะท้อนหลักเมตตาธรรมตามที่ท่านนายกฯ ได้ให้สัญญาว่าจะใช้ เห็นได้จากการพูดผ่านรายการนายกฯทักษิณคุยกับประชาชนเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2548 อาจยิ่งก่อให้เกิดความขัดแย้งและความไม่เข้าใจกันรุนแรงขึ้น
 
กทช.ทำเพื่อผู้บริโภคจริงหรือ
30
กันยายน 2548
ในการแก้ไขสถานการณ์ภาคใต้ในเวลานี้ คำพูดของท่านนายกฯ หลายข้อความแสดงถึงอารมณ์โกรธต่อผู้ก่อความไม่สงบ ไม่ได้สะท้อนหลักเมตตาธรรมตามที่ท่านนายกฯ ได้ให้สัญญาว่าจะใช้ เห็นได้จากการพูดผ่านรายการนายกฯทักษิณคุยกับประชาชนเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2548 อาจยิ่งก่อให้เกิดความขัดแย้งและความไม่เข้าใจกันรุนแรงขึ้น
 
อย่าให้เมตตา“ธรรม”กลายเป็นเมตตา“เทียม”
28 กันยายน 2548
ในการแก้ไขสถานการณ์ภาคใต้ในเวลานี้ คำพูดของท่านนายกฯ หลายข้อความแสดงถึงอารมณ์โกรธต่อผู้ก่อความไม่สงบ ไม่ได้สะท้อนหลักเมตตาธรรมตามที่ท่านนายกฯ ได้ให้สัญญาว่าจะใช้ เห็นได้จากการพูดผ่านรายการนายกฯทักษิณคุยกับประชาชนเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2548 อาจยิ่งก่อให้เกิดความขัดแย้งและความไม่เข้าใจกันรุนแรงขึ้น
 
คิดให้ดีก่อนใช้สมาร์ทการ์ด 3 จังหวัดใต้
26 กันยายน 2548
หลังจากเหตุการณ์การฆ่า 2 นาวิกโยธินที่หมู่บ้านตันหยงลิมอเมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมา รัฐบาลได้ประกาศการบังคับใช้โครงการบัตรสมาร์ทการ์ด 1.3 ล้านใบ กับประชาชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ในเดือนตุลาคมนี้ โดยจะให้เลือกถือเพียงสัญชาติเดียวเท่านั้น นายกฯทักษิณยังย้ำผ่านรายการนายกฯทักษิณคุยกับประชาชนเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2548 ว่า “ถ้าใครไม่อยากเป็นคนไทยก็ให้บอกมา ทุกคนต้องเลือกเพียงสัญชาติเดียวเท่านั้น”
 
บทบาทของ UNHCR ที่ถูกกล่าวหา
21 กันยายน 2548
เมื่อวันที่ 17 ก.ย. ที่ผ่านมา นายกฯ ได้กล่าวถึงการตำหนิหน่วยงานของสหประชาชาติในที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ผ่านรายการนายกฯ ทักษิณคุยกับประชาชน “ผมได้ถือโอกาสใช้เวทีนี้ก็พูดกันตรง ๆ เลยว่าองค์การสหประชาชาติ ทำงานโดยไม่ประสานหรือไม่ทำงานเป็นลักษณะของพาร์ทเนอร์ชิพ กับประเทศที่เกี่ยวข้องเท่าที่ควร เป็นเรื่องไปทำงานเหมือนตำรวจซึ่งไม่ถูกต้อง เพราะองค์กรสหประชาติเป็นองค์กรพหุภาคีที่ต้องทำงานในลักษณะพาร์ทเนอร์ชิพกับประเทศที่เกี่ยวข้อง ผมก็เลยต้องต่อว่าเรื่องของการทำงานร่วมกับประเทศต่าง ๆ” ...
 
สื่อยุค “ทวิลักษณ์ทางอำนาจ”
19 กันยายน 2548
กรณีบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เข้าซื้อหุ้นมติชน และกรณีการที่องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (อ.ส.ม.ท.) ได้ปลดรายการเมืองไทยรายสัปดาห์ สองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใกล้ ๆ กันนี้ คงเหมือนกับอีกหลายเหตุการณ์ที่สื่อต้องเผชิญในช่วงหลายปีที่ผ่านมานี้ นั่นคือ การตกอยู่ภายใต้สภาพ “ทวิลักษณ์ทางอำนาจ” ระหว่าง อำนาจของสื่อมวลชนตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ กับ อำนาจของผู้นำองค์กรสื่อที่มักอยู่เหนือสิทธิเสรีภาพของสื่อมวลชน ซึ่งอำนาจหลังนี้จะใหญ่กว่า...
 
จัดระเบียบผู้ป่วยโรคจิต…ล้อมคอกก่อนวัวหาย  
15 กันยายน 2548
กรณีมือมีดสาวโรคจิตบุกเดี่ยวจ้วงแทงนักเรียนโรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนแวนต์ภายในโรงเรียน นับเป็นข่าวสะเทือนขวัญที่ทั้งผู้เป็นพ่อแม่และคนในสังคมต่างไม่อยากให้เหตุการณ์เช่นนี้เกิดขึ้นกับทั้งตนเองหรือคนที่ตนรัก
 
ภาคใต้มีระดับความรุนแรงเพิ่มขึ้น
29 สิงหาคม 2548
จากการที่วิปรัฐบาลได้สรุปตัวเลขสถานการณ์ความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ หลังการประกาศใช้ พ.ร.ก.การบริหารราชการแผ่นดินในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 โดยเปรียบเทียบตัวเลขในช่วง 18-31 ก.ค.2548 พบว่าสถานการณ์ความรุนแรงลดลงเมื่อเทียบกับช่วง 1-18 ก.ค.2548 จำนวนเหตุการณ์ความไม่สงบลดลงจาก 85 ครั้ง เหลือ 48 ครั้งหลังการใช้ พ.ร.ก. และความเสียหาย (จำนวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต) ลดลงจาก 89 คน เหลือ 42 คน...