กฎหมายครูเอกชน วิกฤตที่ต้องสะสาง

.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์

kriengsak@kriengsak.com, http://

ภาคเอกชนเป็นภาคีสำคัญในการพัฒนาการจัดการศึกษาของประเทศ และแบ่งเบาการจัดการศึกษาของรัฐ โดยปีการศึกษา

อย่างไรก็ตาม กลับพบว่าตั้งแต่ช่วงต้นเดือนมีนาคม พ

ครูเอกชนประสบปัญหาเรื่องใบประกอบวิชาชีพ

ครูและผู้บริหารโรงเรียนเอกชนที่ประสบปัญหาเรื่องใบประกอบวิชาชีพ ได้ร้องเรียนปัญหาไปยังคณะอนุกรรมาธิการการศึกษาเอกชน สภาผู้แทน ราษฎร และคณะอนุกรรมาธิการฯ ได้จัดประชาพิจารณ์สัญจรขึ้นเมื่อ

ครูเอกชนรวมพลเรียกร้องสวัสดิการและค่าตอบแทนเท่าเทียมกับครูรัฐ

ผู้แทนครูโรงเรียนเอกชน ในคณะกรรมการคุรุสภา ได้นำมติของการประชุมสมาคมโรงเรียนเอกชน และผู้แทนสมาคมโรงเรียนเอกชนทั่วประเทศเสนอ รมว

บทเรียนจากปัญหาครูเอกชน เกิดจากการออกกฎหมาย หรือระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ โดยไม่ได้ศึกษา และกำหนดมาตรการรองรับ อาจเกิดปัญหาตามมา เช่น ปัญหาจากการประกาศใช้ พ

แนวทางป้องกันและปัญหาจากการใช้กฎหมายที่กระทบต่อครูเอกชน ศธเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เกี่ยวข้อง สอดรับกับอนาคตที่จะมาถึง อีกทั้งยังเป็นการหาทางเยียวยาหรือชดเชยแก่ครูเอกชนอย่างเหมาะสม ไม่ใช่เกิดปัญหาแล้วค่อยหาทางแก้ไข หรือที่เรียกว่า

ประเด็นสำคัญที่นอกเหนือจากประเด็นทางกฎหมาย คือ ปัญหาสวัสดิการ ค่าตอบแทนครูเอกชน ซึ่งเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นมานาน จนส่งผลต่อขวัญและกำลังใจ กระทบต่อแรงจูงใจผู้ที่จะเข้ามาเป็นครู ดังนั้น รัฐบาลควรให้ความสำคัญ และปรับระบบสวัสดิการครูโรงเรียนเอกชนให้เท่าเทียมกับครูโรงเรียนรัฐ เพื่อสะท้อนว่ารัฐบาลให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของภาคเอกชน และเป็นแรงจูงใจให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนในการแบ่งเบาภาระการจัดการศึกษาของรัฐมากขึ้นในอนาคต

2550 มีสถานศึกษาของภาคเอกชนทั้งหมด 3,887 แห่ง มีนักเรียน 2,405,305 คน และมีครูทั้งหมด 125,803 คน ซึ่งปัจจัยด้านครูนับเป็นกลไกสำคัญ ที่ทำให้สถานศึกษาเอกชนผลิตนักเรียนที่มีคุณภาพ จากการประเมินคุณภาพภายนอก โดยสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) รอบแรก พ..2544-2548 พบ สถานศึกษาเอกชนมีคุณภาพระดับดี มีสัดส่วนสูงกว่าในภาพรวมของประเทศในทุกมาตรฐาน ดังนั้น การสนับสนุนและการพัฒนาครูภาคเอกชนจึงสำคัญอย่างยิ่ง..2552 มีประเด็นข่าวปัญหาครูในสถานศึกษาเอกชนเกิดขึ้นตลอด ซึ่งกระทบต่อขวัญและกำลังใจของครูเอกชนอย่างมาก มีดังนี้3 มีนาคม พ..2552 ผลคือ ปัญหาดังกล่าวเกิดจาก การประกาศใช้ พ... โรงเรียนเอกชน พ..2550 ที่กำหนดให้ครูและผู้บริหารโรงเรียนเอกชน ต้องมีใบประกอบวิชาชีพ ทั้งนี้ ตัวแทนครูและผู้บริหารที่ไม่มีใบประกอบวิชาชีพ มีข้อเสนอว่า รัฐบาลควรอนุโลมให้ครูที่สอนเกิน 10 ปี ครูใกล้เกษียณ ครูที่เรียนและอบรมพัฒนาวิชาชีพครูมาแล้ว แต่คุรุสภาไม่ออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพให้ โดยอ้างว่าไม่ตรงมาตรฐาน ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ส่วนครูที่เหลือให้คุรุสภา สถาบันอุดมศึกษา จัดทำเอกสารคำสอน ขายหรือแจกให้กับครู และกำหนดสอบ 2 เดือนต่อครั้ง เก็บคะแนนสะสม จนกว่าจะครบ 9 มาตรฐาน ให้คุรุสภาจัดอบรมวิชาชีพครูระยะสั้น และให้สถาบันอุดมศึกษาเปิดสอนวิชาชีพครูให้ทั่วทุกภูมิภาค และเก็บค่าหน่วยกิตราคาที่ไม่แพง.ศธ. ปลัด ศธ. เมื่อ 12 มีนาคม พ..2552 โดยยื่นข้อเสนอ คือ 1) ให้ ศธ. ช่วยเหลือเงินค่าครองชีพชั่วคราวแก่ข้าราชการ และครูโรงเรียนเอกชนที่มีรายได้ไม่เกินเดือนละ 11,700 บาท ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม-กันยายน พ..2552 ซึ่งรัฐบาลได้จัดสรรให้แก่ข้าราชการไปแล้วแต่ในส่วนของโรงเรียนเอกชนยังไม่ได้ดำเนินการ และ 2) ขอให้มีการปรับแก้ระเบียบว่าด้วยกองทุนสงเคราะห์ครูใหญ่และครูเอกชน ให้สอดคล้องกับสภาวะปัจจุบัน ที่กองทุนจ่ายเงินช่วยเหลือค่ารักษาพยาบาลแก่ครูโรงเรียนเอกชนคนละ 1 แสนบาทต่อปี ไม่รวมสามี-ภรรยา บุตร บิดา และมารดาของครู ซึ่งทำให้ครูเอกชนได้รับ ความเดือดร้อนอย่างมาก...โรงเรียนเอกชน พ..2550 กำหนดให้ครูและผู้บริหารต้องมีใบประกอบวิชาชีพ แต่ไม่ได้มีการกำหนดมาตรการในการช่วยเหลือและพัฒนาครูที่อยู่ในระบบ เป็นต้น .ควรศึกษาผลกระทบเชิงลบ-บวก จากการออกกฎหมายและมาตรการต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ "วัวหายแล้วล้อมคอก" หรือการเปลี่ยนนโยบายและมาตรการไปเรื่อย ๆ แต่ต้องศึกษาวิจัย พัฒนาองค์ความรู้ และเพิ่มจำนวนผู้เชี่ยวชาญด้านนโยบายศึกษา ที่จะกำหนดนโยบาย กฎหมาย และมาตรการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการศึกษาเอกชน ก่อนออกกฎหมายหรือกฎระเบียบจะมีผลบังคับโดยใช้
www.kriengsak.com

นักวิชาการอาวุโส ศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

admin
เผยแพร่: 
หนังสือพิมพ์โลกวันนี้
เมื่อ: 
2009-03-24