แรงจูงใจ

     ผมกล่าวเสมอว่า “ในเรื่องเดียวกัน คนที่มีหลักปรัชญาที่แตกต่างกัน จะมีจุดยืนและการตัดสินใจที่แตกต่างกัน” ยกตัวอย่าง เหมา เจ๋อตุง และเติ้ง เสี่ยวผิง บริหารจัดการประเทศจีนต่างกัน เพราะมีปรัชญาเบื้องหลังเกี่ยวกับมนุษย์ที่ไม่เหมือนกัน
     เหมา เจ๋อตุง มีหลักปรัชญาที่ว่า ‘มนุษย์เห็นแก่ผู้อื่น ยินดีเสียสละแบ่งปัน ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน’ทำให้เกิดเศรษฐกิจแบบวางแผนจากส่วนกลางและระบบคอมมูน โดยมองว่าชาวนาเป็นแรงงานของรัฐ ทุกคนได้รับผลตอบแทนเท่ากัน
     เติ้ง เสี่ยวผิง มีหลักปรัชญาว่า ‘มนุษย์เห็นแก่ประโยชน์ตัวเองมากกว่าผู้อื่น’ และการจะทำเพื่อผู้อื่นนั้นจะต้องมีแรงจูงใจ จึงนำไปสู่การปฏิรูปเศรษฐกิจโดยการใช้แรงจูงใจแก่ชาวนาในชนบท และใช้กลไกตลาดแบบค่อยเป็นค่อยไป

หากพิจารณาในเชิงหลักการ การจำนำข้าวดูเหมือนเป็นแนวคิดที่ดี กล่าวคือ มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาราคาข้าวตกต่ำในช่วงที่ผลผลิตข้าวออกสู่ตลาดมาก ชาวนาจะนำข้าวไปจำนำก่อนเพื่อรอเวลาที่ราคาข้าวสูงขึ้นแล้วจึงไถ่ถอนข้าวออกมาจำหน่าย

อย่างไรก็ดี การจำนำมีข้อจำกัดในการนำมาใช้กับข้าวเปลือก เนื่องจากการจำนำข้าวมีต้นทุนการดำเนินการสูง โดยเฉพาะต้นทุนการขนส่งและต้นทุนการเก็บรักษา รวมทั้งยังมีต้นทุนจากการเสื่อมคุณภาพของผลผลิตข้าว ดังนั้นราคารับจำนำจำเป็นต้องต่ำกว่าราคาตลาดมากพอสมควร เพื่อให้ชาวนาที่นำข้าวมาจำนำมีแรงจูงใจมาไถ่ถอนข้าวออกไป หรือเพื่อให้ผู้รับจำนำข้าวมีกำไรหรือไม่ขาดทุนเมื่อนำข้าวที่หลุดจำนำออกขายทอดตลาด

ในภาคปฏิบัติ โครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลไม่ใช่การรับจำนำข้าวตามแนวคิดข้างต้น แต่เป็นการรับซื้อข้าวจากเกษตรกรเพื่อมาเก็บรักษาและจัดจำหน่ายเอง ในขณะเดียวกันก็ยังเป็นนโยบายสงเคราะห์ด้านรายได้แก่เกษตรกร เพราะรัฐบาลรับซื้อข้าวจากเกษตรกรในราคาที่สูงกว่าราคาตลาดมากจนเป็นไปไม่ได้ที่เกษตรกรจะกลับมาไถ่ถอนข้าวออกไป

                

      ที่มาของภาพ  http://hilight.kapook.com/img_cms2/sport/100_14.jpg

ปัญหาสำคัญประการหนึ่งของประเทศไทย คือการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะทรัพยากรที่ดูเหมือนมีอยู่อย่างไม่จำกัด หรือทรัพยากรที่ประชาชนสามารถเข้าถึงได้อย่างเสรี (free access) อาทิ แหล่งน้ำธรรมชาติ ที่ดินสาธารณะ หรือแม้กระทั่งอากาศ ฯลฯ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดของผลกระทบจากปัญหาดังกล่าว คือปัญหามลภาวะทางอากาศและน้ำในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ปัญหาน้ำเสียในเขตเมือง ปัญหาการบุกรุกที่ดินสาธารณะ หรือปัญหาการตัดไม้ทำลายป่า

กลไกตลาด ทางเลือกใหม่ การจัดการทรัพยากร

     พ่อแม่จำนวนมากในสังคมมีแนวทางที่หลากหลายแตกต่างกันไปในการอบรมเลี้ยงดูลูกของตน ไม่ว่าจะเป็น พ่อแม่ประเภทที่ชอบใช้อำนาจเป็นใหญ่หรือเผด็จการนิยม  พ่อแม่ประเภทเมตตามหานิยมเลี้ยงลูกแบบเพื่อน ไม่กล้าใช้อำนาจกับลูกของตน รวมไปถึงพ่อแม่ประเภทประชาธิปไตยที่สมาชิกในครอบครัวทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกันทุกประการไม่มีใครใหญ่กว่าใคร  เป็นต้น   

เมื่อวันที่ 25 ndash; 27 ก.ค. ที่ผ่านมามีการประชุมที่ใหญ่มากระหว่างนักธุรกิจจีนและไทย ที่พัทยา โดยเป็นการร่วมมือระหว่างสมาคมนักธุรกิจของไทย คือ สมาคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย-จีน และสมาคมนักธุรกิจของจีน ชื่อ สมาคมนักธุรกิจยอดเยี่ยมเชื้อสายจีนทั่วโลก

ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์
นักวิชาการอาวุโส ศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
kriengsak@kriengsak.com, http:// www.kriengsak.com

ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์
นักวิชาการอาวุโส ศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
kriengsak@kriengsak.com, http:// www.kriengsak.com

ภายใน 6 ndash; 7 ปีมานี้ท่านผู้อ่านคงได้ยินคำว่า ldquo;เศรษฐกิจนอกระบบrdquo; และ ldquo;แรงงานนอกระบบrdquo; อยู่บ่อยครั้ง แต่อาจไม่แน่ใจว่าความหมายที่จริงคืออะไร ซึ่งอันที่จริงแล้ว ความหมายของแรงงานนอกระบบนั้นมีผู้ให้ความหมายแตกต่างกัน แต่ความหมายที่ผมคิดว่าตรงที่สุดและผมใช้อ้างอิงอยู่ประจำนั้น ldquo;เศรษฐกิจนอกระบบrdquo; คือ เศรษฐกิจที่รัฐบาลไม่สามารถเข้าไปตรวจสอบที่มาที่ไปของการรับหรือจ่ายเงินในทางบัญชีได้ และ ldquo;แรงงานนอกระบบrdquo; คือ แรงงานที่ทำงานในเศรษฐกิจลักษณะดังกล่าว ตัวอย่างเช่น แม่ค้าหาบเร่ มอเตอร์ไซค์รับจ้าง ลูกจ้างในร้านค้าเล็ก ๆ รวมทั้งเกษตรกรราย