เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2559 ผมได้มีโอกาสบรรยายพิเศษในการประชุมสภาปัญญาสมาพันธ์เรื่อง ?กฎ 99-1 กับความเหลื่อมล้ำ? ซึ่งมีการถ่ายทอดผ่านทาง Live Facebook ด้วย เนื่องด้วยผมเห็นว่าประเด็นความเหลื่อมล้ำเป็นปัญหาที่มีแนวโน้มรุนแรงมากยิ่งขึ้น และปัญหานี้จะส่งผลต่อการพัฒนาและนำมาซึ่งปัญหาในมิติอื่นๆ ทั้งเชิงสังคม เศรษฐกิจ การเมือง

กฎ 99-1 (99 -1 Rule) คือ แนวโน้มความเหลื่อมล้ำแบบรุนแรง โดยคนส่วนน้อย ซึ่งแสดงด้วยตัวเลขสัญลักษณ์ คือ ร้อยละ 1 ครอบครองหรือมีอำนาจควบคุมส่วนแบ่งความมั่งคั่งเกือบทั้งหมด ซึ่งแสดงด้วยตัวเลขสัญลักษณ์ คือ ร้อยละ 99 กฎนี้สามารถเกิดขึ้นในหลายระดับ ทั้งในระดับโลก ประเทศ สังคม อุตสาหกรรม ตลาด ทั้งนี้ภายใต้กลุ่มย่อยหรือหน่วยย่อย ร้อยละ 1 บนสุด ยังมีร้อยละ 1 ย่อยที่มีส่วนแบ่งร้อยละ 99 ซ้อนเป็นชั้นๆ เป็นรูปแบบเดียวกันนี้ด้วย

     ตลอดปี 2559 มีเหตุการณ์ความรุนแรงและการก่อการร้ายที่สร้างความเสียหายรุนแรงเกิดขึ้นหลายเหตุการณ์ ล่าสุดคือ การก่อการร้ายในบริเวณใกล้เคียงกับสนามกีฬาเมืองอิสตันบูล ประเทศตุรกี เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2559 ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 29 ราย และผู้ได้รับบาดเจ็บ 166 คน ซึ่งผมขอแสดงความเสียใจมา ณ ที่นี้

จากบทความตอนที่แล้ว ผมได้นำเสนอข้อเสนอแนะในการใช้ทุนทางวัฒนธรรมเพื่อเป็นพลังขับเคลื่อนไปสู่ประเทศไทย 4.0 ภายใต้ประเด็นหลักที่มุ่งเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้าและบริการโดยทุนวัฒนธรรมไปแล้ว ในบทความตอนนี้จะเป็นการให้ข้อเสนอแนะในมิติการสร้างนวัตกรรมที่เอื้ออำนวยต่อการสร้างนวัตกรรม

จากบทความตอนที่แล้ว ผมได้แสดงมุมมองต่อแนวคิดประเทศไทย 4.0 และกล่าวถึงความเกี่ยวข้องระหว่างทุนวัฒนธรรมกับการเป็นประเทศไทย 4.0 ซึ่งผมมองว่าทุนวัฒนธรรมเป็นเหมือนกิจกรรมต้นน้ำ (Upstream)ในห่วงโซ่มูลค่าของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงกับทุนวัฒนธรรม คือ กระทรวงวัฒนธรรม ซึ่งต้องทำหน้าที่พัฒนาทุนวัฒนธรรมและส่งมอบไปยังหน่วยงานต่างๆ เช่น กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงพาณิชย์ เป็นต้นเพื่อสามารถนำไปสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจต่อไปได้ ผมมีข้อเสนอแนะในการใช้ทุนทางวัฒนธรรมโดยแบ่งเป็น 2 ประเด็นหลักๆ ได้แก่ การสร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้าและบริการโดยทุนวัฒนธรรม และการสร้างวัฒนธรรมที่เอื้ออำนวยต่อการสร้างนวัตกรรม
รัฐบาลพยายามผลักดันนโยบายประเทศไทย 4.0 หรือไทยแลนด์ 4.0 กล่าวคือ เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม เทคโนโลยี เป็นการเน้นภาคบริการ แทนภาคอุตสาหกรรม เป็นเศรษฐกิจฐานความรู้ที่สร้างความมั่งคั่งผ่านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วัฒนธรรม ความคิดสร้างสรรค์ เนื่องด้วยนโยบายนี้มีความสำคัญต่อทิศทางการพัฒนาของประเทศ ในบทความนี้ ผมจะนำเสนอมุมมองของผมในการใช้ทุนวัฒนธรรมในการขับเคลื่อนไปสู่ประเทศไทย 4.0 โดยให้ความสำคัญกับมิติทางเศรษฐกิจเป็นหลัก
จากการสำรวจ "ดัชนีประสิทธิผลภาคประชาชน" (People Sector Effectiveness Index ?

         ปัจจุบัน มีโครงการขนาดใหญ่เกิดขึ้นอย่างมากมาย สำหรับประเทศกำลังพัฒนาส่วนใหญ่จะเป็นโครงการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน แต่สำหรับประเทศพัฒนาแล้วจะเป็นโครงการด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม

         ในอนาคตจะมีโครงการที่เกิดจากภาคส่วนที่ไม่ใช่รัฐเพิ่มมากขึ้น หรืออาจจะเป็นความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน หรือความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน รวมถึงความร่วมมือทั้งจากภายในประเทศและระหว่างประเทศ

ในอนาคต ความเป็นเมืองจะขยายตัวมากขึ้น กล่าวคือ ประชากรจะอาศัยอยู่ในเมืองร้อยละ 60 ในปี 2020 และเป็นร้อยละ 70 ในปี 2050 ความเป็นเมืองช่วยให้เกิดการเพิ่มผลิตภาพและการสร้างนวัตกรรม สังเกตได้จากส่วนแบ่งของผลิตภัณฑ์มวลรวม หรือ GDP ของเมืองมากกว่าสัดส่วนของประชากรในเมือง GDP ของเมืองมีส่วนแบ่งถึงร้อยละ 80 ของ GDP โลก แต่มีประชากรในเมืองเพียงร้อยละ 54 ของประชากรโลก
In last January, the committee members of the Wisdom Council Thailand completed a survey on PVE index. The survey structure of PVE index was consisted of three different parts which were contribution to economic growth, social responsibility and private institution.
 
From the survey of 1,227 Thai citizens and the interview of 200 entrepreneurs about the effectiveness of the private sector; the survey suggested that Thai citizens gave private effectiveness only a passing level with the 61% for the overall.
 
By considering each indicator, it revealed that - private sector helps in increasing economic growth due to its expert and specialization in doing business.