June 2013

Singapore... A Scholarship Student State


Sources : http://www.sph.com.sg/pr_images/image/CATS%20Recruit%20Scholarship%20&%20Top%20University%20Fair(1).jpg

    With the vision of human development as the vital key, Singapore has been propelled forward from small poor country status with limited human and natural resources to being a global player that has developed greatly as a nation strong in economics. Most recently, Times Higher Education magazine in 2012-2013 ranked two universities in Singapore among the 100 best universities in the world, marking National University of Singapore in 29th position and Nanyang Technological University in 86th position.

The ASEAN Community and Globalization: Their effect on Thai tourism (1)


Sources : http://www.pattayadailynews.com/en/wp-content/uploads/2010/07/phot216.jpg

I was recently invited by the Professional Tourist Guide Association of Thailand, along with the Department of Tourism, Ministry of Tourism and Sports of Thailand to lecture on the topic of, ?Prepare for the ASEAN Economic Community (AEC) and Globalization: Know Thyself, Know Thine Enemy.? The purpose of the lecture was to prepare the tourism and tourist guide sectors in Thailand for the AEC and globalized world.
In this, the first of two articles, I would like to share my opinions given on that day, firstly to consider the effect of the AEC and globalization on Thai tourism, and in a second article, to discuss how to prepare tourist guides for the AEC.
Globalization and the AEC will create changes affecting Thai tourism, as follows:

การเปิดประชาคมอาเซียนเกี่ยวข้องกับคนกทม.อย่างไร? : ข้อเสนอเพื่อการปรับตัว (3)


แหล่งที่มาของภาพ : http://static.guim.co.uk/sys-images/Guardian/Pix/pictures/2011/7/19/1311076136359/shake-hands-007.jpg

จากผลกระทบและโอกาสที่จะเกิดขึ้นจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนที่จะเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2558  ที่ผมได้อธิบายไปในบทความก่อนหน้านี้ คน กทม.มีความจำเป็นต้องเตรียมความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น โดยประเด็นสำคัญที่คน กทม.ควรเตรียมความพร้อมมีดังต่อไปนี้

การเปิดประชาคมอาเซียนเกี่ยวข้องกับคนกทม.อย่างไร? : โอกาส (2)


แหล่งที่มาของภาพ : http://www.tienchiu.com/wp-content/gallery/thailand-bangkok/bangkok_market_woman.jpg

ทุกสถานการณ์ที่เกิดขึ้นอาจเป็นได้ทั้งอุปสรรคและโอกาสขึ้นอยู่กับมุมมองและทัศนคติ การเข้าสู่ประชาคมก็เช่นเดียวกัน ผมได้วิเคราะห์ถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนไปแล้วในบทความครั้งที่แล้ว ในครั้งนี้ผมอยากจะชี้ให้เห็นถึงโอกาสที่เกิดขึ้น โดยการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนอาจเป็นโอกาสของคน กทม.ในหลายด้าน อาทิ

การเปิดประชาคมอาเซียนเกี่ยวข้องกับคนกทม.อย่างไร? : ผลกระทบ (1)


แหล่งที่มาของภาพ : http://airpano.ru/files/bangkok_sausage.jpg

ในช่วงที่ผ่านมาผมได้วิเคราะห์และเขียนถึงการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในภาพรวมประเทศไทยไว้พอสมควร แต่ในฐานะที่กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางของกิจกรรมหลายๆ อย่าง และคนกทม.เองเป็นส่วนที่สำคัญไม่น้อยในการขับเคลื่อนสังคม ผมคิดว่าจะเป็นประโยชน์มากหากมีการวิเคราะห์เจาะจงเพื่อตอบคำถามว่าการเปิดประชาคมอาเซียนเกี่ยวข้องกับกรุงเทพและคนกทม.อย่างไร? โดยผมจะวิเคราะห์ถึงผลกระทบและโอกาสที่เกิดขึ้นจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนที่มีต่อคนกทม.รวมทั้งนำเสนอแนวทางในการปรับตัวสำหรับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น

นโยบายจำนำข้าว ผลกระทบต่อความมั่นคง

หากพิจารณาในเชิงหลักการ การจำนำข้าวดูเหมือนเป็นแนวคิดที่ดี กล่าวคือ มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาราคาข้าวตกต่ำในช่วงที่ผลผลิตข้าวออกสู่ตลาดมาก ชาวนาจะนำข้าวไปจำนำก่อนเพื่อรอเ

พักแบบได้งาน ได้สุขภาพ

คนทำงานที่เป็นที่ต้องการของทุกองค์กรย่อมต้องเป็นคนที่ขยันขันแข็ง ทุ่มเทให้กับองค์กร หนักเอาเบาสู้ รับผิดชอบเต็มที่ มีความตั้งใจสูงที่จะทำงานให้เสร็จตามเส้นตายที่กำหนด และหลายคนเลือกที่จะรับประทานอาหารกลางวันแบบ "มือเดียว" คือมือหนึ่งถืออาหารไว้ อาจเป็นแฮมเบอร์เกอร์ ขนมปัง อีกมือหนึ่งทำงานไปด้วย หรือซื้ออาหารกล่องมารับประทานไปทำงานไป ไม่ต้องลุกไปไหน ตลอดทั้งวันจนกระทั่งงานเสร็จ

แน่นอนว่าความขยันแบบนี้ หากเป็นแบบนานๆครั้งคงไม่เป็นไร แต่หากเป็นประจำทุกวันหรือแทบไม่เคยไปรับประทานอาหารกลางวันข้างนอกเลย สิ่งที่เราต้องแลก ไม่เพียงเสียสุขภาพในอนาคต แต่ประสิทธิภาพการทำงานจะถูกบั่นทอนลงในระยะยาวด้วย

ดังนั้น เพื่อให้ห่างไกลจากโรคร้าย เราจึงไม่เพียงตั้งเป้าทำงานเต็มที่ให้งานออกมาดี แต่เมื่องานดีแล้ว สุขภาพของเราต้องดีด้วย การทำงานและการรักษาสุขภาพจึงต้องดำเนินควบคู่ไปด้วยกันอย่างสมดุล

นโยบายภูมิบุตร บทเรียนของนโยบายประชานิยมแบบเลือกข้าง


แหล่งที่มาของภาพ : http://1.bp.blogspot.com/-adFOL71VXqg/T3PswnmF_yI/AAAAAAAAAJs/3NNX6Vkde88/s320/bumiputera.jpg
 

     รัฐบาลมาเลเซียมีนโยบายเกื้อหนุนพลเมืองเชื้อสายมาเลย์และคนพื้นเมืองรัฐซาบาห์กับซาราวักอย่างต่อเนื่อง

     เพราะรัฐธรรมนูญมาเลเซียมาตรา 153 บัญญัติให้ ?ฐานะพิเศษ? แก่คนเหล่านี้ หรือที่เรียกว่า ?ภูมิบุตร? (Bumiputeras) แม้ว่ามาตราเดียวกันนี้บัญญัติว่ารัฐบาลจะต้องปกป้องสิทธิของชนเชื้อสายอื่นๆ อย่างเท่าเทียม แต่ในสังคมมาเลเซียมีเสียงแสดงความไม่พอใจอย่างต่อเนื่องเสมอมาโดยเฉพาะจากคนเชื้อสายจีนและอินเดียว่า รัฐบาลที่พรรคอัมโน (United Malays National Organisation หรือ UMNO) เป็นแกนนำนั้นเอาใจใส่ประชาชนกลุ่มภูมิบุตรเป็นพิเศษ
     ในแวดวงวิชาการมีการอธิบายในหลายแง่มุม แนววิเคราะห์แบบหนึ่งเห็นว่านโยบายภูมิบุตรคือนโยบายประชานิยมที่มุ่งเอาใจพวกภูมิบุตร โดยมีความคิดเบื้องหลังว่าภูมิบุตรมีฐานะทางเศรษฐกิจไม่ดี รัฐบาลจึงออกนโยบายสำคัญที่เรียกว่า New Economic Policy (NEP) ในปี 1971 เพื่อลดความยากจนโดยไม่คำนึงถึงเชื้อสาย ผ่านการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว และการปรับโครงสร้างสังคมเพื่อไม่ให้กิจกรรมเศรษฐกิจผูกกับความเป็นเชื้อสาย ต่อมาในปี 2010 รัฐบาลประกาศใช้นโยบายใหม่ที่ชื่อว่า New Economic Model (NEM) เพื่อใช้แทน NEP โดยมีเป้าหมายในการกระตุ้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจ อย่างยั่งยืน และเท่าเทียม แม้นโยบายเหล่านี้มีหลักการที่ดูเหมือนดี แต่การดำเนินนโยบายมีการเลือกปฏิบัติและให้สิทธิพิเศษต่อภูมิบุตร เช่น การกำหนดเป้าหมายเพิ่มส่วนแบ่งทางเศรษฐกิจของภูมิบุตรจากร้อยละ 2.4 เป็นร้อยละ 30 เป็นต้น