GDP

การจัดระเบียบโลกในอนาคต (Future World Order) ด้วยการพัฒนาโลกาภิวัตน์แบบร่วมมือ 8 รูปแบบจะเป็นระเบียบโลกที่ความมั่งคั่งกระจายทั่วถึงทุกคนมากขึ้น เกิดระบบเศรษฐกิจที่ออกแบบเพื่อทุกคนมากขึ้น เป็นธรรมมากขึ้น และยังคงทำให้เกิดความมั่งคั่งได้

ข้อมูลใน Wealth Report ปี 2012 จัดทำโดย ไนท์ แฟรงค์ (Knight Frank) และ ซิตี้ ไพรเวท แบงค์ (Citi Private Bank) รายงานว่าเศรษฐกิจจีนจะแซงเศรษฐกิจสหรัฐและกลายเป็นเศรษฐกิจขนาดใหญ่ที่สุดของโลกในปี 2020 แต่อันดับจะถูกเปลี่ยนเป็นประเทศอินเดีย ที่จะกลายเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ที่สุดของโลกในปี 2050 ประกอบกับเมื่อไม่นานมานี้ กระทรวงพาณิชย์และอุตสาหกรรมอินเดียได้เปิดตัวนโยบายการค้าต่างประเทศ (Foreign Trade Policy - FTP) ฉบับปี ค.ศ. 2015 - 2020 อย่างเป็นทางการ หลังจากรัฐบาลใหม่ของอินเดียภายใต้การนำของนายนเรนทรา โมดี ซึ่งมีเนื้อหาที่น่าสนใจและเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจของไทยด้วย คำถามที่น่าสนใจตามมาคือ ทิศทางนโยบายในด้านต่างๆ ในอีก 5 ปีข้างหน้าของประเทศอินเดียนั้นเป็นอย่างไร และจะมีนัยทางเศรษฐกิจต่อประเทศไทยอย่างไร 

ข้อมูลใน Wealth Report ปี 2012 จัดทำโดย ไนท์ แฟรงค์ (Knight Frank) และ ซิตี้ ไพรเวท แบงค์ (Citi Private Bank) รายงานว่าเศรษฐกิจจีนจะแซงเศรษฐกิจสหรัฐและกลายเป็นเศรษฐกิจขนาดใหญ่ที่สุดของโลกในปี 2020 แต่อันดับจะถูกเปลี่ยนเป็นประเทศอินเดีย ที่จะกลายเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ที่สุดของโลกในปี 2050 ประกอบกับเมื่อไม่นานมานี้ กระทรวงพาณิชย์และอุตสาหกรรมอินเดียได้เปิดตัวนโยบายการค้าต่างประเทศ (Foreign Trade Policy - FTP) ฉบับปี ค.ศ. 2015 - 2020 อย่างเป็นทางการ หลังจากรัฐบาลใหม่ของอินเดียภายใต้การนำของนายนเรนทรา โมดี ซึ่งมีเนื้อหาที่น่าสนใจและเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจของไทยด้วย คำถามที่น่าสนใจตามมาคือ ทิศทางนโยบายในด้านต่างๆ ในอีก 5 ปีข้างหน้าของประเทศอินเดียนั้นเป็นอย่างไร และจะมีนัยทางเศรษฐกิจต่อประเทศไทยอย่างไร 

 
ประเทศฟินแลนด์มีการเน้นย้ำในเรื่องการบริหารจัดการระบบเศรษฐกิจมหภาคและวัฏจักรเศรษฐกิจ วางบทบาทของธนาคารแห่งประเทศอย่างชัดเจนประเทศเศรษฐกิจรายได้ปานกลาง (middle-income country) เป็นประเทศที่ได้เดินทางมาครึ่งหนึ่งของการก้าวสู่ประเทศรายได้สูง แต่ครึ่งทางของแต่ละประเทศไม่เท่ากัน ประเทศไทยได้ติดอยู่ที่ครึ่งทางนี้เป็นระยะเวลาหลายทศวรรษแล้ว ขณะนี้ ถึงเวลาแล้วที่ประเทศไทยต้องก้าวให้พ้นสภาวะของการติดกับดัก (trap) เพื่อไปให้ถึงจุดหมายการเป็นประเทศเศรษฐกิจรายได้สูง สิ่งสำคัญที่ช่วยกระตุ้นให้เกิดการเดินหน้าและหลุดพ้นจากกับดักนี้ คือ การค้นพบปัจจัยขับเคลื่อน ภายใต้เงื่อนไขที่สมเหตุสมผลของแต่ละช่วงเวลา

 
เมื่อปลายปีที่ผ่านมา ผมได้รับเชิญไปกล่าวปาฐกถาในการประชุมเรื่อง "Ideas at the confluence of Energy, Economy and Environment"ซึ่งเป็นการประชุมเกี่ยวกับการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศภูฏานในอนาคต จัดโดย QED Group, Friedrich Naumann Foundation และ Bhutan Ecological Society ณ เมืองทิมพู ประเทศภูฏาน
 
ประเด็นหนึ่งที่ผมให้ความสนใจมาก เกี่ยวกับประเทศนี้เรื่อยมา คือ การที่ภูฏาน เป็นเพียงประเทศเดียวในโลกที่ใช้ "ความสุขมวลรวมประชาชาติ" หรือ Gross National Happiness (GNH) เป็นดัชนีวัดความเจริญของประเทศมาเป็นเวลานาน จนกลายเป็นที่นิยมชมชอบไปทั่วโลก

กรุงเทพธุรกิจ
คอลัมน์ : ดร.แดน มองต่างแดน

หลังจากที่ได้นำเสนอทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกด้านโครงสร้างประชากรทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรมนุษย์ที่กำลังจะเกิดขึ้นในปี 2050 ผ่านบทความตอนที่แล้วในตอนนี้ผมจึงอยากนำเสนอประเด็นเกี่ยวกับทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในมิติอื่นๆ เพิ่มเติมโดยเฉพาะอย่างยิ่งมิติการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างทางเศรษฐกิจของโลกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใดประเทศใดบ้างที่จะก้าวเข้ามาเป็นมหาอำนาจทางเศรษฐกิจต่อไปในปี 2050 และประเทศไทยควรปรับตัวอย่างไรให้สอดคล้องกับทิศทางการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของโลกในอนาคต


Source : http://webpothi.com/wp-content/uploads/2014/08/opportunity1.png

Thailand can be developed into a high-income country due to its location in Asia where the economic growth rate has been increasing continuously. It is proven that the 19th century was known as the “British Century” and the 20th century was known as the “American Century.”  The 21st century was predicted to be the “Asian Century” thus giving the Thai economy opportunities to expand in a number of ways.

“An opportunity to reach the big markets”