จีน

บนเส้นทางสายไหมแห่งศตวรรษที่ 21 ของจีน ไทยมีความพร้อมขนาดไหน ในการเป็นศูนย์กลางการลงทุนของจีน และหากไทยร่วมมือในโครงการ Belt and Road Initiative (BRI) นี้จริง ไทยจะได้ประโยชน์อะไรบ้าง? 

บทความที่ผ่านมา ผมได้กล่าวถึงสัญญาณของสงครามอภิมหาอำนาจ (hegemonic war) ระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีน ในบทความนี้ ผมจะกล่าวถึงอีก 5 แนวรบ ดังต่อไปนี้

 
กรุงเทพธุรกิจ
คอลัมน์ : ดร.แดน มองต่างแดน
 
มีการคาดการณ์ว่าจำนวนมหาเศรษฐีในจีน จะเพิ่มสูงขึ้นถึงร้อยละ 80 ซึ่งเติบโตเป็นไปในทิศทางเดียวกับอินเดียผมได้นำเสนอเกี่ยวกับแนวโน้มของโลกไปแล้วหลายด้านในช่วงที่ผ่านมา บทความนี้เป็นอีกตอนหนึ่งที่ผมอยากนำเสนอแนวโน้มของโลกในอนาคตเพิ่มเติมในประเด็นเกี่ยวกับมหาเศรษฐีบนโลกทั้งในบริบทปัจจุบัน และในทศวรรษข้างหน้าว่ามีจำนวนเพิ่มมากขึ้นหรือน้อยลงอย่างไร และประเทศไทยสามารถเรียนรู้สิ่งใดบ้างจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว


แหล่งที่มาของภาพ : http://img-cdn.jg.jugem.jp/389/2679777/20141018_731587.jpg

ในปี 2010 OECD และ Wolfensohn Center for Development ของสถาบัน Brookings รายงานว่า ในช่วง 25 ปีที่ผ่านมา กำลังซื้อของคนอเมริกาถือได้ว่าเป็นตัวขับเคลื่อนหลักของเศรษฐกิจโลก แต่ความผันผวนทางเศรษฐกิจในประเทศช่วงหลายปีที่ผ่านมาทำให้บทบาทของสหรัฐอเมริกาในเศรษฐกิจโลกลดลง ในทางตรงกันข้าม การเติบโตของชนชั้นกลางในเอเชียตลอดช่วงที่ผ่านมาได้ส่งผลให้ชนชั้นกลางกลายเป็นพลังเศรษฐกิจใหม่ของโลก จนมีการคาดการณ์ว่าในอีก 30 ปีข้างหน้า ชนชั้นกลางเหล่านี้จะกลายเป็นกลไกหลักขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลกในอนาคตแทนสหรัฐอเมริกา คำถามที่น่าสนใจคือ ผลกระทบและอิทธิพลทางเศรษฐกิจอันเนื่องจากการขยายตัวของกลุ่มชนชั้นกลางนี้จะเป็นอย่างไร? นัยยะต่อประเทศไทยมีอะไรบ้าง? และไทยควรเตรียมความพร้อมในเรื่องนี้อย่างไร?

กรุงเทพธุรกิจ
คอลัมน์ : ดร.แดน มองต่างแดน

เมื่อเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา สถาบันวิจัย
 Center for Strategic and International Studies (CSIS) ได้เผยแพร่งานวิจัยชื่อ U.S. Force Posture Strategy in the Asia Pacific Region: An Independent Assessment เป็นผล

งานวิจัยชิ้นสำคัญที่กระทรวงกลาโหมสหรัฐ มอบหมายให้ศึกษาแผนการจัดวางกำลังพลในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก พร้อมข้อเสนอแนะทางยุทธศาสตร์และเชิงปฏิบัติลงรายละเอียดถึงระดับหน่วยกำลังต่างๆ ของสหรัฐ ที่ประจำการในภูมิภาคนี้