อินเทอร์เน็ต

เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม ที่ผ่านมาผมได้เห็นข่าวที่ท่าน ศ.ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ผู้อำนวยการสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.)ประกาศผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยระบุว่าจากสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ประเมิน 30,010 แห่ง ปรากฏว่าประมาณ 2 ใน 3 หรือมากกว

สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ได้นำความเจริญ ความทันสมัย ความบันเทิง และความสบาย มาสู่คนในสังคม เด็กและเยาวชน ที่เกิดมาในช่วงความเจริญของสังคม จึงมีแนวโน้มจะติดภาพของความสบาย และไม่กระตือรือร้นที่จะแสวงหาเป้าหมายของชีวิต ประกอบกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่ว่าจะเป็น อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์มือถือ สื่อมวลชน ที่ส่วนใหญ่ตอบสนองความต้องการด้านบันเทิง แฟชั่น สินค้าราคาแพง ฯลฯ

การประชุมสภาผู้แทนฯ เมื่อ 31 ส.ค. 2548 ที่ประชุมได้ร่วมกันอภิปรายร่าง พ.ร.บ.งบประมาณปี 2549 ผมได้อภิปรายงบประมาณฉบับนี้ โดยใช้คำว่าเป็น การจัดทำงบประมาณ lsquo;ไม่สร้างสรรค์rsquo; คำว่า ldquo;ไม่สร้างสรรค์rdquo; ในที่นี้ ไม่ได้หมายความว่า การทำแบบเดิม ๆ หรือไม่คิดค้นสิ่งใหม่ แต่หมายความว่าไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ การจัดทำงบประมาณฉบับนี้ไม่สร้างสรรค์อย่างไร ผมขออธิบายใน 3 ประเด็น ดังนี้

กระแสฟุตบอลโลกที่ได้เริ่มต้นตั้งแต่ต้นเดือนต้นมิถุนายน ทำให้ผู้คนจำนวนมากต่างเฝ้ารอชมการแข่งขันฟุตบอลโลกด้วยใจจดจ่อ เพื่อที่จะได้เชียร์นักฟุตบอลและทีมฟุตบอลในดวงใจ การดูฟุตบอลเพื่อความเพลินเพลินสนุกสนานนับเป็นสิ่งที่ดี แต่ในทางตรงกันข้ามกระแสฟุตบอลโลกทำให้เกิดผลกระทบหรือปัญหาติดตามมาด้วย อาทิ ปัญหาสุขภาพอันเนื่องมาจากการอดหลับอดนอนเพื่อรอชมการแข่งขัน การดื่มสุราขณะรับชมการแข่งขัน และปัญหาการเล่นพนันทายผลการแข่งขันฟุตบอล โดยเฉพาะการพนั

สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ได้นำความเจริญ ความทันสมัย ความบันเทิง และความสบาย มาสู่คนในสังคม เด็กและเยาวชน ที่เกิดมาในช่วงความเจริญของสังคม จึงมีแนวโน้มจะติดภาพของความสบาย และไม่กระตือรือร้นที่จะแสวงหาเป้าหมายของชีวิต ประกอบกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่ว่าจะเป็น อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์มือถือ สื่อมวลชน ที่ส่วนใหญ่ตอบสนองความต้องการด้านบันเทิง แฟชั่น สินค้าราคาแพง ฯลฯ

เมื่อวันที่ 18 ธันวาคมที่ผ่านมาผมได้รับเชิญเป็นผู้ร่วมรายการ ldquo;มองรัฐสภาrdquo; ซึ่งออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 11 กรมประชาสัมพันธ์ ร่วมกับ ดร.ปาริชาติ สถาปิตานนท์ อาจารย์คณะนิเทศศาสต

ผลการวิจัยเรื่อง ผลกระทบโลกาภิวัตน์ต่อการจัดการศึกษาไทยใน 5 ปีข้างหน้า โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) ซึ่งดิฉันได้รับเกียรติให้เป็นหัวหน้าในโครงการวิจัย พบว่า กระแสโลกาภิวัตน์ที่ส่งผลให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทั้งการเปลี่ยนแปลงในด้านที่ดีและด้านที่ไม่ดี ได้ส่งผลกระทบต่อผู้เรียนโดยตรง โดยเฉพาะผลกระทบด้านเทคโนโลยีและการแข่งขันทางการค้าและการลงทุน

สภาพโลกาภิวัตน์ได้เชื่อมทุกประเทศให้กลายเป็นสมาคมโลก โดยเชื่อมโยงทั้งด้านการถ่ายเทด้านข้อมูลข่าวสาร องค์ความรู้ วัฒนธรรม และเศรษฐกิจการค้าที่เปิดเสรีมากขึ้น รวมถึงการคมนาคมขนส่งจากทั่วทุกมุมโลก ส่งผลให้เกิดการตื่นตัวในการพัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นสื่อกลางในกิจกรรมแทบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็น ด้านการค้าและการลงทุน การศึกษา การติดต่อสื่อสาร การท่องเที่ยว และการใช้ในชีวิตประจำวัน แม้ว่าปัจจุบันจะมีภาษาต่างประเทศอื่น ๆ เข้ามามีบทบาทมากขึ้น เช่น ภาษาจีน ภาษาเกาหลี ภาษาญี่ปุ่น ฯลฯ แต่ภาษาอังกฤษยังคงเป็นที่ยอมรับและนำมาใช้เป็นภาษากลางของคนทั่ว

ท่ามกลางกระแสการเมืองที่ร้อนระอุในปัจจุบัน ระบอบการเมืองประชาธิปไตยในระบบตัวแทนดูจะถูกมองว่าไม่สามารถหาทางออกให้ปัญหาได้ดีนัก เพราะวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพื่อไปเป็นผู้แทนของประชาชนกลายเป็นภาพพจน์ต้นเหตุของความวุ่นวาย ผมคิดว่าประชาธิปไตยทางตรงนั้นอาจเป็นทางออกที่น่าจะพิจารณาเสริมเข้ามาในระบบ และน่