เศรษฐกิจฐานความรู้

     เมื่อไม่นานมานี้ผมได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็นของผมในงานสัมมนาที่จัดโดยมหาวิทยาลัยเกริก เรื่อง ?ยุคสังคมอุตสาหกรรมสร้างสรรค์: ความฝันหรือความจริงแห่งอนาคต? ซึ่งนอกจากผมแล้วยังมีวิทยากรหลายท่านได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ซึ่งปัจจุบันเป็นนโยบายที่รัฐบาลพยายามผลักดันให้เกิดขึ้นไว้อย่างน่าสนใจ

การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานความรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เชื่อมโยงและแข่งขันทั่วโลก อีกทั้งกรุงเทพฯ ในฐานะเมืองหลวงเป็นศูนย์กลางการค้า ธุรกิจ การศึกษา ฯลฯ ของประเทศ จำเป็นต้องพัฒนาคนกรุงเทพฯ ให้เป็นคนแห่งการเรียนรู้ เพื่อเผชิญหน้ารับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างเท่าทัน สามารถปรับตัว อยู่รอด และแข่งขันได้
การจัดการศึกษาเพื่อกลุ่มคนทำงาน ผู้สูงอายุ เพื่อพัฒนาความรู้ ทักษะที่สอดคล้องกับการทำงาน นับเป็นหลักสูตรหนึ่งที่มีความน่าสนใจ ด้วยปัจจัยอย่างน้อย 3 ด้านที่คาดว่าจะเอื้อให้การจัดการศึกษาในลักษณะนี้ได้รับความนิยมสูงขึ้น ไม่ว่าจะเป็น

จากคำกล่าวของ ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย และนายทนง พิทยะ รมต.ว่าการกระทรวงการคลังที่ชี้แจงตัวเลขในการลงทุนโครงการขนาดใหญ่ ไม่ตรงกัน กล่าวคือ ม.ร.ว. ปรีดิยาธร เทวกุล ชี้แจงว่า ตัวเลขการลงทุน จะลดลงเหลือ 1.56 ล้านล้านบาท ซึ่งการลดลงของมูลค่าการลงทุน ทำให้ลดแรงกดดันต่อการขาดดุล ในขณะที่ นายทนง พิทยะ กล่าวว่า ตัวเลขการลงทุน ยังคงเท่าเดิม คือ 1.7 ล้านล้านบาท เท่าเดิม
จากคำกล่าวของ ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย และนายทนง พิทยะ รมต.ว่าการกระทรวงการคลังที่ชี้แจงตัวเลขในการลงทุนโครงการขนาดใหญ่ ไม่ตรงกัน กล่าวคือ ม.ร.ว. ปรีดิยาธร เทวกุล ชี้แจงว่า ตัวเลขการลงทุน จะลดลงเหลือ 1.56 ล้านล้านบาท ซึ่งการลดลงของมูลค่าการลงทุน ทำให้ลดแรงกดดันต่อการขาดดุล ในขณะที่ นายทนง พิทยะ กล่าวว่า ตัวเลขการลงทุน ยังคงเท่าเดิม คือ 1.7 ล้านล้านบาท เท่าเดิม

จากการที่นายกฯ ได้จัดงานแถลงทิศทางนโยบายเศรษฐกิจปี 2549 โดยใช้ชื่องานว่า ldquo;ทิศทางและนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลในปี 2549rdquo; โดยเชิญนักธุรกิจเข้ามาฟังคำแถลง ณ ทำเนียบรัฐบาล เมื่อวันที่ 11 มกราคมที่ผ่านมา ผมมีข้อสังเกตเกี่ยวกับนโยบายเศรษฐกิจ ทิศทางในปี 2549 ที่