September 2012

รัฐมนตรีมีอำนาจเพียงพอกับการจัดการการทุจริตในกระทรวงหรือไม่

จากการที่ผมได้ทำการวิจัย เรื่อง ?บทบาทของรัฐมนตรี ในการลดการคอร์รัปชันภายในกระทรวง : กรณีศึกษา กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ? ผมได้ศึกษาพบว่า ระบบป้องกันและปราบปรามการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐยังมีช่องว่างที่ทำให้การแก้ไขปัญหาการทุจริตไม่สัมฤทธิ์ผล ซึ่งผมได้อธิบายช่องว่างต่างๆ แล้วในบทความครั้งก่อนๆ


คำถามที่น่าสนใจคือ รัฐมนตรีซึ่งเป็นเจ้ากระทรวงมีอำนาจหน้าที่เพียงพอต่อการจัดการปัญหาการทุจริตในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างในกระทรวงหรือไม่

มุมมองต่อยุทธศาสตร์ความมั่นคงสหรัฐในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก

กรุงเทพธุรกิจ
คอลัมน์ : ดร.แดน มองต่างแดน

เมื่อเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา สถาบันวิจัย
 Center for Strategic and International Studies (CSIS) ได้เผยแพร่งานวิจัยชื่อ U.S. Force Posture Strategy in the Asia Pacific Region: An Independent Assessment เป็นผล

งานวิจัยชิ้นสำคัญที่กระทรวงกลาโหมสหรัฐ มอบหมายให้ศึกษาแผนการจัดวางกำลังพลในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก พร้อมข้อเสนอแนะทางยุทธศาสตร์และเชิงปฏิบัติลงรายละเอียดถึงระดับหน่วยกำลังต่างๆ ของสหรัฐ ที่ประจำการในภูมิภาคนี้

ช่องว่างของระบบป้องกันและปราบปรามการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (3)

บทความก่อนหน้านี้ ผมได้กล่าวถึงผลการศึกษาที่ได้จากงานวิจัย เรื่อง ?บทบาทของรัฐมนตรี ในการลดการคอร์รัปชันภายในกระทรวง : กรณีศึกษา กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ? ซึ่งผมได้ทำการวิเคราะห์ช่องว่างของระบบป้องกันและปราบปรามการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐสองประการแรกคือ ระบบการจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นระบบปิด และการให้อำนาจเจ้าหน้าที่รัฐใช้ดุลยพินิจค่อนข้างมาก

ในบทความนี้ ผมจะกล่าวถึงช่องว่างประการสุดท้าย คือ การกระจุกตัวของกลไกตรวจสอบในขั้นตอนแรกและขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง

การนำเงินทุนสำรองไปใช้ประโยชน์:กรณีศึกษาที่น่าสนใจทั่วโลก (2)

กรุงเทพธุรกิจ

คอลัมน์ : ดร.แดน มองต่างแดน

บทความครั้งที่แล้วผมได้อธิบายตัวอย่างการนำเงินทุนสำรองไปใช้ประโยชน์โดย การจัดตั้งกองทุนความมั่งคั่ง ซึ่งในการจัดตั้งกองทุนความมั่งคั่งนั้นประกอบด้วยขั้นตอนที่สำคัญหลาย ประการ ผมได้อธิบายถึง ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดพันธกิจ (Mission) ที่ชัดเจน และ ขั้นตอนที่ 2 การกำหนดกรอบการบริหารจัดการที่เหมาะสม พร้อมยกตัวอย่างกองทุนความมั่งคั่งของประเทศต่างๆ ที่น่าสนใจ ในบทความนี้ผมจะอธิบายขั้นตอนที่เหลือที่จะทำให้การจัดตั้งกองทุนความ มั่งคั่งประสบความสำเร็จ พร้อมยกอย่างกรณีศึกษาที่น่าสนใจเพิ่มเติมด้วย

ขั้นตอนที่ 3 กำหนดแหล่งที่มาของเงินกองทุน เงินที่มาของกองทุนความมั่งคั่งโดยส่วนใหญ่มาจาก 3 แหล่ง คือ

ทำด้วยใจ

โลกวันนี้วันสุข
คอลัมน์ : HR Tips


คนทำงานจำนวนมากขาดความพึงพอใจในงานที่ทำ อาจเกิดจากการทำงานที่ซ้ำซาก น่าเบื่อหน่าย มีความสัมพันธ์ที่ไม่ดีกับเพื่อนร่วมงานหรือหัวหน้างาน อาจรู้สึกว่างานที่ทำได้ผลตอบแทนน้อย ไม่มั่นคง จึงมีความต้องการหางานใหม่ ๆ ที่พึงพอใจมากกว่า

การเปลี่ยนงานใหม่ แม้จะปลดปล่อยจากสภาพเดิมๆที่ไม่น่าพึงพอใจ แต่ก็ไม่ได้เป็นเครื่องรับประกันว่าจะได้งานที่ทำให้เรามีความสุข ความพึงพอใจ และอยากทำงานนั้นไปนาน ๆ ถ้าไม่เริ่มต้นเลือกงานอย่างถูกต้อง และคิดกับงานอย่างถูกต้อง

"เลือกงานที่สะท้อนตัวตน" แมกซิม กอร์กี้ นักเขียนวรรณกรรมชื่อดังชาวรัสเซีย กล่าวไว้อย่างน่าฟังว่า เมื่องานคือความพึงพอใจ ชีวิตก็เปี่ยมด้วยความสุข แต่เมื่องานกลายเป็นหน้าที่ ชีวิตก็ตกเป็นทาส เมื่อเราได้ทำงานหรือทำสิ่งใด ๆ ที่ชื่นชอบพึงพอใจ ได้ผลของงานออกมาตามที่ปรารถนาเราย่อมมีความสุข

การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหาร : กรณีศึกษาประเทศจีน

ประเด็นเรื่องความมั่นคงเป็นสิ่งที่รัฐบาลในทุกประเทศให้ความสนใจ มิติเรื่องความมั่นคงที่กล่าวถึงในปัจจุบันไม่ได้มุ่งเน้นเพียงความมั่นคงทางการทหาร ความมั่น

การจัดการพื้นที่ป่าที่ถูกทำลาย

     กรณีที่กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืชนำกำลังเจ้าหน้าที่เข้าไล่รื้อสิ่งปลูกสร้างในพื้นที่ป่าในอุทยานแห่งชาติทับลาน ซึ่งทำให้

ไทยจะต้องรับมืออย่างไนในโลก G-0 (The G-Zero World)

     Ian Bremmer ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งและประธานกลุ่มของ The Eurasia Group ได้เขียนหนังสือออกมาเล่มหนึ่งเมื่อไม่นานมานี้ ชื่อว่า Every Nation

Women in Economic and Social Development

     Women have played an important role in driving economic growth.

ช่องว่างของระบบป้องกันและปราบปรามการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (1)

ผมได้มีโอกาสจัดทำงานวิจัย เรื่อง ?บทบาทของรัฐมนตรี ในการลดการคอร์รัปชันภายในกระทรวง : กรณีศึกษา กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ?